การทำปุ๋ยหมัก /น้ำหมักชีวภาพ


ลดการใช้ปุ๋ยเคมี ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ เนื่องจากวัสดุหาง่ายในท้องถิ่น น้ำหมักชีวภาพ คือปุ๋ยอินทรีย์อีกประเภทที่ได้รับความนิยมในหมู่คนปลูกมากกันมาก 



ผลิตถ่าน


การผลิตถ่าน หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว มักจะมีเศษวัสดุเหลือใช้ต่างๆ เช่น ฟางข้าว แกลบ ซังข้าวโพด กากอ้อย เหง้ามันสำปะหลัง ซึ่งเป็นส่วนที่มีศักยภาพในการผลิตพลังงานชีวมวล ซึ่งเป็นพลังงานทดแทนที่สำคัญและเหมาะสมสำหรับชุมชน เป็นการผลิต

การทำฝายชะลอน้ำ


การทำฝายชะลอน้ำ เป็นการกักเก็บน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง และเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่า สร้างพื้นที่ต้นน้ำที่หล่อเลี้ยงชีวิตของคนในชุมชนตำบลบ่อสวก และชุมชนใกล้เคียง หลักการหนึ่งในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ คือ การทำฝายชะลอน้ำ หรือฝาย

การบวชป่าชุมชน


การบวชป่าชุมชน เป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ชุมชน เป็นแหล่งอาหารของคนในชุมชน เช่น หน่อไม้ไผ่ , เห็ด นานาชนิด และนักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ชนิดของพันธุ์ไม้ท้องถิ่น "ป่าชุมชน" ของที่นี่ถือเป็นกลไกสำคัญที่ทำให้คนในพื้นที่สามารถเข้

กิจกรรม กิ่นลำอาหารขันโตก


ประเพณีการเลี้ยงขันโตก เป็นประเพณีที่นิยมปฏิบัติสืบต่อกันมา ตั้งแต่โบราณ การเลี้ยงแขกโดยการกินข้าวขันโตก ซึ่งอาจมีหลายชื่อทีใช้เรียกขานกัน เช่น กิ๋นข้าวแลงขันโตก หรือเรียกสั้นๆ ว่า ประเพณี ขันโตก หรือสะโตก



ปั่นจักรยานเที่ยวชุมชน


การปั่นจักรยานเที่ยวชุมชน เพื่อลดภาวะประหยัดพลังงานเชื้อเพลิงโดยเป็นการออกกำลังกายเช้า – เย็น สูดดมอากาศที่บริสุทธิ์ Low-carbon ทำให้เราได้เห็นได้สัมผัส วิถีชีวิตทุกซอกทุกมุมของเมืองที่เราไปเยือน มีความสุขผ่อนคลายจากการได

ผูกด้าย ต่อชีวิต


ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ มาถึงปัจจุบัน คือ การทอผ้าเพื่อใช้เป็นเครื่องนุ่งห่มและเพื่อการใช้สอยในครัวเรือนมาแต่ดังเดิม

ทดลองทอผ้า ปั้นดายเรียนรู้ลายผ้าจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้า บ้านซาวหลวง ภูม

กิจกรรม "ฤดูบ่อสวก"


เมนูยอดฮิตช่วงฤดูฝน แวะบ้านไหนช่วงเย็นส่วนใหญ่ก็จะกินแกงเห็ดบ้าง ตำน้ำพริกเห็ดบ้าง แกงเห็ดใส่ใบผักแค ยอดผักหละ(ชะอม) หอมๆ พริกแกงทำจากกระเทียม หอมแดง พริกสด กะปินิดๆ เพิ่มกลิ่นปลาร้า ออกมาเป็นแกงเห็ดแสนอร่อย



งานของดีบ่อสวก


ประเพณีท่องเที่ยวในชุมชน เพื่อให้นักท่องเที่ยว และผู้มาเยือนได้สัมผัสและเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนตำบลบ่อสวกโดยการจัดแสดงซุ้มของดีวิถีบ่อสวกจากทั้ง 13 หมู่บ้าน



กิจกรรมนั่งรถอีแต๊กชมเมือง


ชาวบ้านบอกว่ามันชื่อรถอีแต๊ก น่าจะเป็นรถที่ผู้ขับหรือรถเพศเมีย 55555 เพราะมีคำว่าอี และชื่อของมันช่างสะท้อนตัวตนบนความเป็นอีแต๊กได้เป็นอย่างดี 




กิจกรรมทำลูกประคบสมุนไพรจิ๋ว


การทำลูกประคบสมุนไพรจากยาเมืองอยู่ภายใต้การดูแลของชมรมผู้สูงอายุจังหวัดน่าน ด้วยการนำสมุนไพรที่หาได้จากในชุมชนมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น อาหาร เครื่องดื่ม ลูกประคบ ฯลฯ





กิจกรรมทำอาหารพื้นเมือง


กิจกรรมทำอาหารจากสินค้าป่าดอนอุดม "ฤดูเก็บเห็ด บ้านดอนอุดม" “ฝนตกมาแล้ว ไปเก็บเห็ดกัน” เมนูยอดฮิตช่วงฤดูฝน แวะบ้านไหนช่วงเย็นส่วนใหญ่ก็จะกินแกงเห็ดบ้าง ตำน้ำพริกเห็ดบ้าง แกงเห็ดใส่ใบผักแค ยอดผักหละ(ชะอม) หอมๆ พริกแกงทำจากกระเทียม หอมแดง

กิจกรรมเมี่ยงคำ


ปกติเมี่ยงคำใบห่อ เราจะเห็นได้ว่าเราใช้ใบผักแคบ้าน ในการเป็นใบหลักในการห่อเมี่ยงคำ แต่ในพื้นที่ชุมชนบ่อสวก เราใช้ใบเมี้ยง ใบเมี้ยงชาป่ามักให้ความสัมผัสอีกหนึ่งรสชาติ กลิ่นหอมเครื่องเมี่ยงคำ ผสมกับใบเมี้ยงกรอบๆ สดๆ เสน่ห์ของเมี่ยงคำยังคื

กิจกรรมเก็บเมี่ยงมาทำชา


ในสมัยโบราณนั้น ของว่างหลังอาหารของคนเหนือคงไม่มีอะไรที่จะดีไปกว่าเมี่ยง เพราะคนเหนือหลังจากกินอาหารอิ่มแล้ว ก็จะพากัน “อมเหมี้ยง” เพื่อให้รสและกลิ่นของอาหารที่กินเข้าไปเจือจางลง ทั้งยังช่วยคลายความเผ็ด ความเค็ม ที่ติดปากอยู่ 

<

กิจกรรมทำไส้เมี้ยงจากน้ำอ้อยบ้านป่าคา


เริ่มต้นจากการคัดสรรอ้อยที่ปลูกในพื้นที่บ้านป่าคา วัตถุดิบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่มีในพื้นที่ชุมชน ความโดนเด่นของเมนูนี้ คือ ไส้เมี่ยงที่นำน้ำตาลอ้อยคุณภาพดีผสมกับมะพร้าวคั่ว ทำได้รสชาติหอมหวานแบบธรรมชาติ รับประทานพร้อมกับผลไม้สด พริก กระเ

กิจกรรมทอผ้าฝ้าย


ทดลองทอผ้า โดยศูนย์เรียนรู้ภูมิปัญญาการทอผ้าฝ้าย และย้อมสีธรรมชาติที่ถอดลวดลายจากเครื่องปั้นดินเผาโบราณที่ขุดพบจากเตาดินเผาบ่อสวกพัฒนาเป็นลวดลายที่เป็นอัตลักษณ์ผสมกับลวดลายโบราณของเมืองน่าน ชาวบ้านหมู่บ้านซาวหลวง มีอาชีพหลักคือทำการเกษต

นมัสการพระธาตุฉิมพลี


พระธาตุฉิมพลี เป็นพระธาตุเจดีย์ของวัดม่วงเจริญราษฎร์ สร้างมาตั้งแต่สมัยเจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้ายในปีพุทธศักราช ๒๔๗๔ เป็นที่เคารพนับถือของชาวบ้านในหมู่บ้าน โดยจะมีการจัดงานนมัสการพระธาตุฉิมพลี เป็นประจำทุก ๆ ปี ในวันเพ็ญเดือน ๗ (เหนื

Cooking Class


เรียนทำไส้อั่วแม่คำป่วน บ่อสวก“ไส้อั่วสมุนไพร” ซึ่งไส้อั่วของบ่อสวกมีจุดเด่นอยู่ที่ ไส้หมู เป็นหมูแท้หาทานที่อื่นได้ยาก และสมุนไพร ก็ยังเป็นสมุนไพรที่ปลูกกันเองในชุมชน จากสวนเกษตรอินทรีย์นั่นเอง สัมผัสวิถีชีวิตอันเรียบง่าย อิ่มหนำสำราญก

พ่อครูอรุณศิลป์ ดวงมูล


พ่อครูอรุณศิลป์ ดวงมูล เป็นลูกศิษย์ของพ่อครูไช ลังกา เครือเสน และเป็นผู้สืบทอดคณะซอของพ่อครูคำผาย นุปิง ท่านได้รับเลือกให้เป็นครูภูมิปัญญาไทย รุ่นที่ 4 ด้าน ศิลปกรรม (ดนตรีพื้นบ้าน) 




นางบัวลอย อุเทธิ


มีใจรักในการทอผ้ามาช่วยกันอนุรักษ์การทอผ้าออกแบบลายผ้าที่เป็นลายดั้งเดิม และรวบรวมผลผลิตของผ้านำไปขายให้อย่างเป็นระบบจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำมือ จึงทำให้มีลวดลายและเอกลักษณ์แตกต่างจากสินค้าทั่วไปวัตถุดิบหลักฝ้ายธรรมชา

นายวีรชัย หลวงแก้ว


ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องพืชสมุนไพร ยาสมุนไพร ปลอดภัย เมื่อใช้ถูกหลัก ความรู้แผนไทย “สมุนไพร” ทางเลือกในการรักษาและป้องกันโรคทั้งในรูปแบบของยาและผลิตภัณฑ์อาหารเสริมที่เป็นกระแสนิยมของคนทั่วไปในปัจจุบัน



นายต่วน แก้วถา


สงเคราะห์/ พิธีกรรม ประธานชมรมผู้สูงอายุบ้านป่าคา รับผิดชอบบริหารงานของชมรม ฯ ให้เป็นไปตามระเบียบของชมรมฯและทำหน้าที่ประธานในที่ประชุมคณะกรรมการ และการประชุมใหญ่ของชมรม 

นายธรรมรัตน์ ธิเสนา


มัคฑายก ปราชญ์ชุมชนทางด้านศาสนา มัคนายก (บาลี) หรือ มรรคนายก (สันสกฤต) แปลว่า ผู้นำทาง คือผู้นำบุญ ผู้แนะนำทางบุญ ผู้ชี้ทางบุญ



นายปณิธาน จิณะหล้า


ผู้ใหญ่บ้านป่าคา ประวัติศาสตร์ชุมชน นักสื่อสารประจำชุมชน การเรียนรู้และเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ การสื่อสารที่ดีถ้าเราเข้าใจธรรมชาติของมนุษย์