วันสารทไทย : ความกตัญญูกตเวทีต่อบรรพชน


“สารท” เป็นการทำบุญกลางปีของไทย ตรงกับวันสิ้นเดือน ๑๐ หรือวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ซึ่งเป็นฤดูที่พืชพันธุ์ธัญชาติและผลไม้สุก ข้าวและต้นผลไม้ที่ปลูกไว้กำลังให้ผลเป็นครั้งแรกในฤดูนี้ ในภาคใต้มีประเพณีทำบุญวันสารทเดือนสิบ ถือเป็นงานบุญประเพณีที่สำคัญของช


วันสารทจีน : บ่อเกิดแห่งประเพณีและอัตลักษณ์


ในรอบหนึ่งปีชาวจีนจะมีไหว้เจ้าใหญ่ 8 ครั้ง เรียกว่าไหว้ 8 เทศกาลโป๊ะโจ่ย การไหว้สารทจีนเป็น การไหว้ครั้งที่ 5 ตรงกับวันที่ 15 เดือน 7 ซึ่งถือกันว่าเป็นเดือนผี เป็นเดือนที่ประตูนรกปิดเปิด ให้ผีทั้งหลายมารับกุศลผลบุญได้ ประตูนรกจะปิดในวันที่ 30 เดือน


กลุ่มชาติพัันธุ์์ในจัังหวัดสตููลชาวมัันนิิ


ชาวมันนิเป็นชนกลุ่มชาติพันธุ์ทางภาคใต้ของไทยที่ดํารงชีวิตในป่าบริเวณเขาบรรทัดมาหลายชั่วอายุคน โดยวิถีดั้งเดิมของชาวมันนิเป็นสังคมเร่รออนหาของป่า ล่าสัตว์ พวกมันนิสร้างทับเป็นที่อยู่อาศัยชั่วคราว ณ จุดหนึ่งๆ ในป่าบริเวณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เมื่ออาหาร


งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล


สำหรับจังหวัดสตูลแล้ว นอกจากเป็นจังหวัดที่โดดเด่นด้านธรรมชาติ ประเพณีวัฒนธรรมที่หลากหลายและที่โด่งดังและรู้จักทั่วนานาชาติ ก็คือ ‘งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล’ ที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปี จัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ กล่าวคือ ‘งานว่าวประเพณีจังหวัดสตูล’


ว่าวควาย


ว่าวควาย เป็นว่าวชนิดหนึ่งที่ชาวสตูลนิยมเล่นกันมาก เล่นกันทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ส่วนใหญ่จะเป็นเพศชาย นิยมเล่นกันหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จ โดยเฉพาะในเดือน ธันวาคม-เมษายน ซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อนของจังหวัดสตูล อากาศปลอดโปร่ง มีลมพัดแรงส่งว่าวให้ลอยขึ้นสูงสุด


ระบำว่าวควายสตูล : จากลีลาจุฬาเล่นลมสู่ท่วงท่าระบำว่าวควาย


ที่มาของระบำว่าว ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ทางจังหวัดสตูลได้เป็นเจ้าภาพในการแข่งขันว่าวนานาชาติโดยมีประเทศต่างๆ ที่มีอาณาเขตติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกฯลฯ ซึ่งได้จัดเป็นปีแรกโดยใช้ชื่องานว่าการแข่งขันว่าวนานาชาติครั้งที่ ๑ โรงเรียนสตูลวิทยาซึ่งเป็นที่ตั้งของศูนย์


บูสุ : การละเล่นหนึ่งเดียวของจังหวัดสตูล


“บูสุ” เป็นภาษามลายู แปลว่า “เหม็น”บูสุ อีกความหมายหนึ่ง คือ “สุดท้าย” เป็นการละเล่นพื้นเมืองชนิดหนึ่งของจังหวัดสตูล สมัยก่อนเด็กๆ ชอบเล่นกันมากเพราะเล่นได้หลายคน ยามว่าก็ชวนกันมาเล่นกัน ผู้เขียนจำได้ว่าในวัยเด็กผู้เขียนและเพื่อนๆ จับกลุ่มเล่น บูสุ


ดาระ : วิถีชีวิตของผู้คนในสังคมมุสลิม


การละเล่นพื้นบ้าน เป็นการเล่นที่สืบทอดกันมาแต่โบราณของทุกจังหวัด การเล่นเริ่มมาตั้งแต่กาลครั้งไหน คงไม่มีใครทราบได้ จะมีการละเล่นแสดงถึงเอกลักษณ์เฉพาะของชนชาติหรือท้องถิ่นนั้นๆ การละเล่นมีหลายอย่างต่างๆ กัน สะท้อนภาพของสังคมไทยในด้านต่างๆ เช่น สภาพค


จำปาดะ : ผลไม้อัตลักษณ์ประจำถิ่นสตูล


คนไทยรู้จักขนุนเป็นอย่างดี ส่วนจำปาดะนั้นมีคนอีกมากมายที่ไม่รู้จัก จำปาดะกับขนุนมีความใกล้ชิดกันทางพันธุกรรมทำให้มีการผสมข้ามพันธุ์หรือกลายพันธุ์เกิดเป็นจำปาดะขนุนซึ่งปัจจุบันพบที่จังหวัดสตูลและที่ตำบลเกาะยอ จังหวัดสงขลา อาจกล่าวได้ว่า ‘จำปาดะ’ เป


ข้าวพันธุ์อัลฮัมดุลิลละห์ : ผลผลิตที่พระผู้เป็นเจ้าประทาน


“ข้าวพันธุ์อัลฮัมดุลิลละห์” เป็นพันธุ์ข้าวที่ชาวไทยมุสลิมในจังหวัดสตูลนิยมปลูกและนิยมบริโภคมานาน ยาวนานมาตั้งแต่สมัยปู่ ย่า ตา ยาย ไม่ต่ำกว่า ๑๐๐ ปี บอกเล่าต่อๆ กันมาว่า ชาวไทยมุสลิมบ้านโคกพิลา อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูลได้นำพันธุ์ข้าวอัลฮัมดุลิลละห


กล้วยไม้รองเท้านารีขาวสตูล : ความงดงามและบอบบางใต้ชะง่อนผา


กล้วยไม้รองเท้านารีหรือ ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Lady’s Slipper ได้ชื่อนี้จากลักษณะดอกที่ขอบปากงองุ้มเข้าหากันคล้ายหัวรองเท้าไม้ของชาวดัตช์ หนังสือพฤกษชาติเล่มแรกซึ่งออกโดยสมาคมพฤกษชาติแห่งประเทศไทยในความอุปถัมภ์ของกระทรวงเกษตราธิการ ๒๔๙๒ ใช้คำว่า“รอ


ขนมต้มใบกะพ้อ ตูปะ : ขนมที่สื่อวัฒนธรรมของชาวสตูล


สตูลเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทั้งทางด้านประเพณีและวัฒนธรรม และความหลากหลายของวิถีการดำรงชีวิต ซึ่งวัฒนธรรมมีทั้งแบบดั้งเดิมของชาวพื้นเมือง คือ สิ่งศักสิทธิ์ (ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น) ผีสางนางไม้ รวมถึงบรรพบุรุษ และวัฒนธรรมใหม่ที่รับเข้ามาคือ


รูปแบบการแต่งกายและเครื่องประดับ


การแต่งกายของคนสตูลจะเป็นการผสมผสานของหลายชนชาติออกมาอย่างสวยงาม ซึ่งปัจจุบันชาวสตูลยังคงรักษา วัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีขาวไทยพื้นเมือง ชาวไทยเชื้อสายมลายู และชาวไทยเชื้อสายจีน โดยปรับเปลี่ยนรายละเอียดให้เหมาะสมกับยุคสมัย ผสมผสานของหลายชนชาติออกมาอย


ปาเต๊ะ : ผืนผ้า พัสตราภรณ์ ที่ถักทอการแต่งกายตามวิถีสตูล


ชาวสตูลส่วนใหญ่รู้จักผ้าบาติก ในนามของชื่อผ้าปาเต๊ะ ที่ได้รับอิทธิพลมาจากอินโดนีเซีย มาเลเซีย เผยแพร่เข้าสู่สตูล ซึ่งอาจเป็นอิทธิพลทางการค้าและศาสนา บาติกทางตอนใต้ของประเทศไทยจะนิยมเขียนภาพดอกไม้ ใบไม้ ภาพสัตว์ และลวดลายเครือเถาต่างๆ มีลักษณะเฉพาะถิ


คติความเชื่อ ค่านิยม


ชาวสตูลมีความเชื่อในเรื่องโชคลาภ เครื่องราง ของขลังและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ ไม่แตกต่างจากจังหวัดอื่นในภาคใต้ จะเห็นได้ว่าบริเวณบ้านของชาวสตูลโดยเฉพาะที่นับถือศาสนาพุทธจะมีศาลพระภูมิเจ้าที่ ยกเว้นคนที่นับถือศาสนาอิสลาม ไม่มีพระ ศาสนาอิสลามไม่นิยมรู


ศาสนา ภาษา


ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าชาวสตูลส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ศาสนาพุทธและอื่นๆตามลำดับ มีสถานที่สำคัญทางศาสนาหลายแห่งทั้งวัดและมัสยิด ส่วนเรื่องภาษา ชาวสตูลมีมรดกทางวัฒนธรรมต้นภาษาที่มีลักษณะแตกต่างจากจังหวัดอื่นๆ สตูลจะมีภาษาถิ่นในสองลักษณะ คือ ภา


วัฒนธรรมด้านอาหาร


การกินของชาวสตูลมีทั้งส่วนที่คล้ายกับจังหวัดอื่นและส่วนที่แตกต่าง ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นอันสืบเนื่องมาจากสภาพทางภูมิศาสตร์และเกิดจากความเชื่อทางศาสนา ตลอดจนค่านิยมการกินของบุคคลในแต่ละท้องถิ่น ชาวสตูลนิยมอาหารเช้าเป็นกา


สตูล : สมัยรัตนโกสินทร์


สมัยรัชกาลที่ ๑ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ อังกฤษขอเช่าเกาะหมากจากพระยาไทรบุรี (ตนกูอับดุลละ โมกุลรัมซะ) เจ้าพระยาไทรบุรีๆ เกรงไทยจะลงไปปราบเช่นเดียวกับปัตตานี จึงตกลงให้อังกฤษเช่าเกาะหมากภายใต้เงื่อนไขว่าอังกฤษต้องส่งกำลังมาช่วยเมืองไทรบุรีในกรณีที่มีศั


สตูล : สมัยธนบุรี


เนื่องจากสมัยธนบุรีเป็นช่วงระยะเวลาสั้น และเหตุการณ์ในช่วงนี้ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองปัตตานี และเมืองไทรบุรีได้ตั้งตนเป็นอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบคืนได้เพียงเมืองนครศรีธรรมราช ระยะนี้สตูลซึ่งเป็น


สตูล : สมัยอยุธยา


ในสมัยอยุธยาปรากฏชื่อ “เมืองละงู” และ “เมืองไทรบุรี” ในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชและตำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ในหนังสือบุดที่คัดลอกจากต้นฉบับเดิม ๙ ดังนั้นหัวเมืองที่ปรากฏในตำนานจึงมีอยู่ก่อนการคัดลอก ความในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชกล่าวถึงพญาศรีธรรม


สตูล : สมัยสุโขทัย


ศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยสุโขทัยกล่าวถึงดินแดนของอาณาจักรสุโขทัยด้านทิศใต้ ปรากฏ ดังนี้ “...เบื้องหัวนอน รอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝั่งทะเล สมุทร เป็นที่แล้ว...” หากพิจารณาความตามศิลาจารึก อาณาจักรสุโขทัยครอบคล


สตูล : สมัยก่อนประวัติศาสตร์


ในหนังสือภูมิศาสตร์ของปโตเลมี นักภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์ชาวกรีก ในพุทธศตวรรษที่ ๗ ได้บันทึกชื่อเมืองท่าต่างๆ ของโลกไว้ประมาณ ๘,๐๐๐ ชื่อ และ ๑ ในนั้นคือ “เมืองท่าซาบานา”(Sabana) ตั้งอยู่ที่ ละติจูด ๓ องศาเหนือ ลองจิจูด ๑๖๐ องศาตะวันออก ซึ่งหม่อมเจ้าจัน