สวรรค์ตะรุเตา : สวรรค์สวนทางกับนรก ที่ “ตะรุเตา”


“เกาะตะรุเตา” เป็นเกาะใหญ่และสำคัญที่สุดในอุทยานแห่งชาติตะรุเตาซึ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเลแห่งแรกของประเทศไทย มีชื่อเสียงทางด้านประวัติศาสตร์และความสวยงาม ตั้งอยู่ในทะเลอันดามันบริเวณช่องแคบมะละกา มหาสมุทรอินเดีย ในท้องที่ตำบลเกาะสาหร่าย อำเภอเมือ


ท่าเรือสุไหงอุเปหรือทุ่งหว้า


คำว่าสุไหงอุเป เป็นภาษามลายู “สุไหง” แปลว่า คลอง “อุเป” แปลว่า กาบหมาก ท่าเรือแห่งนี้ตั้งอยู่ในตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล เป็นท่าเรือเก่าแก่พอๆกับท่าเรือปากบารา ซึ่งในอดีตมีความรุ่งเรืองมาก เนื่องจากว่าอำเภอทุ่งหว้าเป็นแหล่งปลูกพริกไ


ท่าเรือปากบารา


ตั้งอยู่ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล ท่าเรือปากบาราหรืออีกชื่อหนึ่งเรียกว่า กัวราบารา ซึ่งเป็นภาษามลายู “กัวรา” แปลว่า ปากน้ำ ส่วน “บารา” แปลว่า ถ่านที่กำลังติดไฟอยู่ ท่าเรือแห่งนี้เป็นท่าเรือเก่าแก่ ในอดีตเป็นที่พักหรือจอดเรือรับสินค้าโดยเฉพาะถ


คลองมำบัง


คำว่า “มำบัง” มาจากภาษามลายู แปลว่า “ปิด” ต้นน้ำของคลองมำบังเกิดจากสายน้ำเล็กๆ หลายสายบริเวณเทือกเขาอำเภอควนกาหลงกับอำเภอควนโดน ไหลผ่านหมู่บ้านหลายแห่ง เช่น บ้านดุสน อำเภอควนโดน ช่วงนี้จะเรียกว่าคลองดุสน ผ่านตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล เรียกว่าคลองฉ


คลองละงู


อยู่ในเขตอำเภอละงู จังหวัดสตูล ต้นกำเนิดของคลองสายนี้เกิดจากทิวเขาในเขตจังหวัดตรัง และ จังหวัดพัทลุงซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่งน้ำบนภูเขาไหลลงเป็นน้ำตก ไหลผ่านอำเภอมะนังที่บ้านป่าพน บ้านวัง พะเคียน เข้าเขตอำเภอควนกาหลง ตำบลอุไดเจริญ เรียกชื่อคลองช่วงนี้ว


คลองทุ่งหว้า


คลองทุ่งหว้าอยู่ในเขตอำเภอทุ่งหว้า เกิดจากสายน้ำเล็กๆ หลายสายบริเวณเทือกเขาบรรทัด ไหลมารวมกันที่บ้านทุ่งดินลุ่ม บ้านป่าแก่บ่อหิน บ้านโล๊ะไฟ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จากนั้นก็ไหลผ่านบ้านท่าขาม บ้านท่าอ้อย แล้วแยกออกเป็นสองสาย สายหนึ่งออกสู่ทะเลบ


สูไงอูเปะฮฺ : ปีนังน้อยแห่งเมืองสตูล


เมื่อพ.ศ. ๒๕๔๘ สภาวัฒนธรรมจังหวัดสตูลได้แปลบันทึกจดหมายเหตุพระยาภูมินารถภักดีจากภาษามลายูจำนวน ๒ เล่มเป็นภาษาไทย และพิมพ์เผยแพร่เมื่อพ.ศ. ๒๕๕๐ โดยตั้งชื่อหนังสือว่า "บันทึกจดหมายเหตุพระยาภูมินารถภักดี พ.ศ. ๒๔๓๙ -๒๔๔๓" ถึงแม้ว่าการแปลจดหมายเหตุพระย


กำปงจีนา – บ้านจีน : เรื่องของซัวเต๊ง และ อาคารไม้ ๑๐๐ ปี


บ้านจีน เดิมเป็นหมู่บ้านเรียกเป็นภาษามลายูว่า “กำปงจีนา” หมายถึง หมู่บ้านที่มีชาวจีนกลุ่มใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ นั่นเอง ซึ่งมีหลักฐานอ้างอิงได้ว่า ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองสตูลอยู่ในสถานะเป็น มูเก็ม


ถนนบุรีวานิช : จุดเริ่มต้นของถนนมำบังนังคะรา-บ้านจีน


ถนนบุรีวานิชถนนสายแรกของมำบังนังคะรา ในอดีต ยุคของพระยาภูมินารถภักดีเป็นผู้ว่าราชการเมืองสตูลถนนนี้เป็นจุดเริ่มต้นของถนน มำบังนังคะรา - บ้านจีน และเป็นต้นทางของถนนสามสายในเวลาต่อมา ถนนบุรีวานิชเริ่มต้นจากป้อมยามตำรวจทอดยาวมาสิ้นสุดตรงแยกด้านข้างมัสยิ