ปลาตะมะ


ปลาตะมะ วงศ์ Lethrinidae

ถิ่นที่อยู่อาศัย มีการแพร่กระจายทั่วไปบริเวณอ่าวไทยและอันดามัน รูปร่างคล้ายคลึงปลากะพงมาก ที่แตกต่างก็คือปลาหมูสีมีจะงอยปากที่ยาวและแหลมกว่า มีเกล็ดขนาคเล็กที่แก้มอันหลังและลำตัว ลำตัวป้

ปลาสาก


ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลาสากดำ

ชื่อท้องถิ่น : สากดำ, น้ำดอกไม้, ปลาซัวกุน, ปากแหลมตัวยาว จะงอยปากยาว มุมปากอยู่ใต้ขอบหน้าของนัยน์ตา ครีบหลังแยกห่างออกจากกันเป็น 2 ครีบ ครีบหลังอันแรกมีจุดเริ่มอยู่หลังจุดเริ่มต้นข

ปลาเก๋าลิง


ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลากะรัง

ชื่อท้องถิ่น : กะรัง, เก๋า, เก๋าปากแม่น้ำ

ลักษณะเด่น : รูปร่างยาว ล้าตัวใหญ่และแข็งแรง ปากกว้างยืดและหดได้ ครีบต่าง ๆ มีปลายมนครีบอกและครีบหางกลม ตลอดลำตัวและครีบมีจุดกลมสีส้มหรือน้ำ

ปลาข้างไฝ หรือ กะพงเหลืองข้างปาน


ชื่อสามัญภาษาไทย  ปลากะพงเหลืองข้างปาน

ชื่อท้องถิ่น : กะพงเหลืองข้างปาน, เหลืองพง, ขมิ้น

ลักษณะเด่น : มีฟัน บนลิ้นและบนเพดาน ปาก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ครีบหางเว้าน้อย พื้นลำตัวด้านบนเป็นสีเหลืองเข้ม ด้า

ปลามงแซ่


ชื่อสามัญ ภาษาไทย ปลามงแซ่

ลักษณะของปลามงแซ่ เป็นปลาทะเลซึ่งมีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนข้าง หัวโต หน้าสั้น สันหัวโค้งนูน นัยน์ตาโต ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย คอดหางเล็กและสั้นมาก ครีบหลังมี 2 อัน อันแรกมีขนาด

ปลาหมึกกระดอง


ชื่อสามัญภาษาไทย: หมึกกระดอง

ลักษณะเด่น: หมึกกระดอง นั นมีรูปร่างคล้ายกับหมึกกล้วย แต่มีรูปร่างที่กลมป้อมกว่า อันเป็นสิ่งที่แตกต่างออกไปอย่างเห็นได้ชัดเจน ภายในเป็นแผ่นหินปูนรูปกระสวยสอดอยู่กลางหลังเรียกว่าลินทะเล

ปลาทูแขก


ชื่อสามัญภาษาไทย: ปลาทูแขกครีบยาว

ลักษณะเด่น: รูปร่างเพรียวยาว ล้าตัวค่อนข้างกลม หัวยาวเรียว นัยน์ตาโตโคนหางมีเกล็ดเป็นสันแข็ง ครีบหลังมี 2 อัน แยกห่างจากกัน อันแรกเป็นรูปสามเหลี่ยมอันที่สอง

ตามแนวลำตัวครีบท้อง

ปลาสีกุนครีบยาว


ชื่อสามัญภาษาไทย : สีกุนข้างเหลือง

ชื่อท้องถิ่น : สีกุนข้างลวด ข้างลวด ข้างเหลือง กิมสัว กิมซัว กิมสั่ว

ลักษณะเด่น : มีรูปร่างยาวรี ลำตัวแบนเล็กน้อย ปากเล็ก เกร็ดเล็ก ครีบต่าง ๆ มีลักษณะบอบบาง ครีบอกยาวปลายแหลมคล

ปลาหางแข็งบั้ง


ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลาหางแข็ง

ชื่อท้องถิ่น : หางแข็ง, ข้างลาย, ข้างลวด, เซ็กลา, สีกุน

ลักษณะเด่น : ลำตัวยาว แบนข้าง หัวโต จะงอยปากยาวและแหลม นัยน์ตาโตมีเยื่อไขมันหุ้มอยู่

ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อยมีฟันเล็ก

ปลาลังใหญ่


ปลาลัง, ปลาทูลัง หรือ ปลาทูโม่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาทูชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน จนชาวประมงพื้นบ้านเคยเชื่อว่าปลาลังเป็นปลาทูตัวผู้ แต่ปัจจุบันได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นปลาคนละชนิดกัน ความแตกต่างระหว่างปลาลังกับปลาทูชนิด

หมึกกล้วย


ชื่อสามัญภาษาไทย : หมึกกล้วย

ชื่อท้องถิ่น : หมึกกล้วย, หมึกหลอด

ลักษณะเด่น : ลำตัวเป็นหลอดป้อม สั้น ครีบเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนและยาวมากกว่าร้อยละ 50 ของความยาวลำตัว กระดองเป็นแผ่นใสคล้ายพลาสติก

หอยวงเดือน


หอยกระจก ชุมชนท่าดินแดงเรียกหอยชนิดนี้ว่า “หอยวงเดือน” (อังกฤษ: Windowpane shell; ชื่อวิทยาศาสตร์: Placuna placenta) หรือหอยกระจกหน้าต่าง, หอยกะซ้า 





เมนูเด็ดจากทะเล


ชุดรายการอาหารท้องถิ่นที่ชุมชนบ้านดินแดงคัดเลือกอาหารเมนูจานเด็ดให้นักท่องเที่ยวเลือกโดยจัดทำเป็นรายงานอาหารชุด A ดังนี้

-ยำสาหร่ายผมนาง

-ปลาเก๋าราดซีอิ้ว

-แกงกะทิปูดำ

-ผัดมะเขือม่วงยาว

-ยำแตงกวาปลาฉิ่ง

ยำสาหร่ายผมนาง


สาหร่ายผมนาง จากกระชังเลี้ยงปลาของกลุ่มประมงพื้นบ้าน นำมาล้างในน้ำสะอาด ทิ้งให้สะเด็ดน้ำ เตรียมวัตถุดิบได้แก่ มะม่วงดิบหั่นฝอย ถั่วฝักยาวซอย แครอทซอยเพิ่มสีสัน หั่นพริกสด กุ้งแห้ง พริกป่น ปลาฉิงฉ้าง เกลือ น้ำตาล เมื่อเตรียมเครื่องปรุงเส

กะทิเครื่องแกงปูดำ






ผัดมะเขือยาวทรงเครื่อง


มะเขือยาวในชุมชนบ้านท่าดินแดงมีการปลูกเป็นสินค้าทางเกษตร ดังนั้น เมนูชุมชนหากขาดเมนูมะเขือยาว อาจจะทำให้ขาดอัตลักษณ์ของชุมชน คัดเลือกมะเขือยาว (ม่วง) ทำความสะอาด และหั่นเป็นชิ้นแนวยาวพอคำ เตรียมใบโหรพา พริกซอย กระเทียมบด น้ำมันพืช เต้าเจี้ยว

ยำแตงกวาปลาฉิงฉ้าง


ยำหรือตำแตงกวา แต่สูตรของชุมชนบ้านท่าดินแดง นิยมยำหรือหยำ การหยำคือการใช้มือคลุกเครืองปรุงให้เข้ากัน วัตถุดิบในการประกอบอาหารเมนูนี้ คือ แตงสับพอหยาบ พริกซอย หอมแกงซอย ใบแมงลัก กะปิ น้ำตาล เกลือ น้ำปลา วิธีการปรุง ให้เทวัตถุดิบทั้งหมดลง

ปลาเก๋าราดซีอิ๋ว


คัดเลือกปลาเก๋าขนาดพอประมาณ ทำความสะอาดและเอาเครื่องในออก โดยไม่ต้องหั่นเป็นชิ้น เมื่อเตรียมปลาเก๋าเรียบร้อย เริ่มวิธีการทำโดยนำกระทะใส่น้ำมันพืชเล็กน้อยเพื่อทอดปลาเก๋า ให้สุก กลับด้านปลาทั้ง 2 ด้านให้สุกทั่วตัว หลังจากนั้น เทซอส น้ำตาล

เมนูอาหารท้องถิ่น


ชุดรายการอาหารท้องถิ่นที่ชุมชนบ้านดินแดงคัดเลือกอาหารเมนูจานเด็ดให้นักท่องเที่ยวเลือกโดยจัดทำเป็นรายงานอาหารชุด B ดังนี้

-ไตปลา

-ผักหวานต้มไข่

-ผักเหรียงต้มกะทิ

-แกงเผ็ดหอยกัน

ซึ่งเป็นรายก

แกงเหลียงต้มกะทิ


ใบเหลียงต้มกะทิ แกงใต้ที่เป็นเมนูเด็ดของบ้านท่าดินแดง มีวิธีทำใบเหลียงต้มกะทิ ง่ายๆทำกินเองได้ ส่วนผสมและขั้นตอนไม่ยุ่งยากสำหรับอาหารเมนูพื้นบ้าน 

ส่วนผสม

• ใบเหลียงอ่อน ฉีกเป็นชิ้นอดีคำ 2 จาน

• หัวกะท

แกงไตปลา


ไตปลา ถือเป็นการถนอมอาหารของชาวปักษ์ใต้ คนใต้จะเอาไตปลาทู หรือปลาลัง มาหมักกับเกลือ หมักเก็บไว้ได้นาน แต่ต้องทำความสะอาดไตปลาก่อน เก็บไว้กินได้นาน พอพูดถึงการถนอมอาหารในแบบฉบับของคนใต้แล้วก็นึกถึงเมนู 

แกงไตปลา รสชา

แกงผักหวาน


ผักหวาน เป็นผักท้องถิ่นที่สามารถหาได้ตามป่า บางบ้านอาจมีการปลูกผักชนิดนี้ ถือเป็นวัตถุดิบที่หาง่าย ขั้นตอนเริ่มจากการต้มน้ำให้เดือด ใส่เครื่องปรุงต่างๆ เช่น น้ำปลา น้ำตาล ซอสขาว ตามด้วยผักหวานและไข่ทั้งฟอง ค่อยๆ คนให้ผักและไข่สุกพร้อมกั

แกงเผ็ดหอยกัน


หอยกัน เป็นหอยที่มีอยู่ในคลองป่าชายเลนของคลองท่าดินแดง นำหอยกันมาทำความละอาดและแกะเอาเฉพาะเนื้อหอย ตั้งกระทะใส่น้ำมันพืชและเครื่องแกงเผ็ด คั่วให้เข้ากัน แล้วใส่หน่อไม้สด ปรุงรสชาติตามชอบ ใส่หอยกันที่เตรียมลงไปผัดให้สุกจนได้ที่ รับประทาน

น้ำพริกหยำ


น้ำพริกหยำ หรือ น้ำชุบหยำ เป็นการทำน้ำพริกแบบขยำ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของน้ำพริกจากทางภาคใต้ โดยทั่วไปแล้วการทำน้ำพริกต้องใช้ครกตำให้พริกละเอียด แต่น้ำพริกเมนูนี้ใช้วิธีขยำหรือคลุกแทนการตำ เป็นวิธีทำน้ำพริกต้องทำอย่างเบามือ ไ