Saengtham Shrine


Demonstration of forging a knife (Last knife shop)


Phukej (before Phuket), the jewel of the Andaman


Storytelling through the batik pattern


Baba wedding inherits the culture of love


Baba Yaya dress


Song Tek Building


Chartered Bank Building


Phuket clock tower


Tiam Chu


Xia Na


Niao Heeb


Ang ku-Red tortoise cake


Oh-Aew


Moo Hong


O-Tao


ภูเก็จ (ก่อนจะเป็น ภูเก็ต) อัญมณีแห่งอันดามัน


 

ภูเก็ต เป็นที่รู้จักมาอย่างยาวนานในฐานะของเกาะที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรทางธรรมชาติ โดยเป็นที่รู้จักของนักเดินเรือในอดีต ที่เดินทางผ่านเส้นทางการค้าจีนและอินเดีย ซึ่งต้องแล่นเรือผ่านแหลมมลายู จะต้องผ่านแหลมจังซีลอน หรือ เกาะถลาง

เรื่องเล่าผ่านลายผ้าปาเต๊ะ


 

ผ้าปาเต๊ะ เป็นผ้านุ่งที่อยู่คู่กับสาวๆ บาบ๋า และสาวภูเก็ตมาตั้งแต่อดีต ทั้งนุ่งอยู่บ้าน ออกไปวัด ไปตลาด หรือออกงานสำคัญต่างๆ ผ้าปาเต๊ะจึงถือเป็นอัตลักษณ์การแต่งกายของวัฒนธรรมเพอรานากัน

แรกเริ่มเดิมที ปาเต๊ะ หรือ บาติก (Batik) มา

วิวาห์บะบ๋า สืบทอดวัฒนธรรมแห่งความรัก


ชาวจีนฮกเกี้ยนจำนวนมากเข้ามาอยู่ในภูเก็ตพร้อมกับนำวัฒนธรรมของชาวจีนฮกเกี้ยนมาด้วย นานเข้าจึงเกิดการผสมผสานทั้งวัฒนธรรมและเชื้อชาติ ลูกหลานที่เกิดจากชาวจีนฮกเกี้ยนและชาวพื้นเมืองปักษ์ใต้ถูกเรียกว่า “บะบ๋า” เกิดการส่งต่อวัฒนธรรมของทั้งฝั่งจีนฮก

อั้งม้อเหลา คฤหาสน์ 100 ปี





หอนาฬิกาภูเก็ต




เสี่ยหนา


ปิ่นโตบะบ๋า เสิร์ฟความอร่อยเมนูฮกเกี้ยนภูเก็ต

ปิ่นโตไม้สไตล์จีนที่เราอาจเคยเห็นในหนังจีนย้อนยุคหลายเรื่อง มีให้เห็นกันได้ที่ภูเก็ต มีชื่อเรียกว่า “เสี่ยหนา” โดย เสี่ยหนา เป็นหนึ่งในสิ่งของที่อยู่ขันหมากของพิธีวิวาห์บะบ๋า

ฉิ่มแจ้


บ้านที่อยู่อาศัยของชาวไทยเชื้อสายจีนฮกเกี้ยน จนมีความเป็นอัตลักษณ์ คือ เป็นบ้านเรือนที่เรียกว่า ชิโนโปรตุกีส ซึ่งมีลักษณะการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมจีนกับสถาปัตยกรรมโปรตุเกส เรียกบ้านลักษณะนี้ว่า โคโลเนียนสไตล์ หรือ สไตล์อาณานิ

บ้านชินประชา


เป็นกลุ่มอาคารและบ้านเรือนย่านถนนกระบี่ อาคารและบ้านเรือนสำคัญที่เคยมีบทบาทและเป็นที่รู้จักกันดีในเมืองภูเก็ต คือ บ้านชินประชาบ้านชินประชา สร้างขึ้นช่วงปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพระพิทักษ์ชินประชา(ตันม่าเสียง) ได้สร้างบ้านหลังนี้ตาม