กิจกรรม Street Arts


โครงการ 100 of Arts Phuket ขนมศิลปะและบ้านเลขที่ 100 ซึ่งเจ้าของบ้านเลขที่ 100 ให้ศิลปินและผู้สนใจได้วาดภาพภายใต้ concept “ขนม-ศิลปะ” ลงบนผนังบ้านตัวเองจนเกิดเป็น land mark ใหม่ของภูเก็ต หลังจากนั้นไม่นาน “ภูเก็ต” ก็ได้รั


วูแกลลอรี่ พิพิธภัณฑ์ชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต


บ้านหลังนี้ในอดีตคือร้านขายนาฬิกานำเข้าจากต่างประเทศ และรับซ่อมนาฬิกา ที่ชื่อร้าน “MOH SENG & Co.” กาลเวลาผ่านไป ผู้สืบทอดบ้านเป็นทายาทรุ่นที่ 3 ได้เข้ามาดำเนินการซ่อมแซมปรับปรุงบ้านที


พิพิธภัณฑ์พารานากัน – ชุมชนท่องเที่ยวย่านเมืองเก่าภูเก็ต


“พิพิธภัณฑ์ เพอรานากัน ภูเก็ต” เป็นการจัดแสดงนิทรรศการจำลองประวัติศาสตร์ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ ที่อยู่อาศัย อาหารการกิน เครื่องแต่งกาย และเครื่องประดับ เพอรานากัน ผ่านเทคโนโลยีการนำเสนอที่ทันสมัย เข้าใจง่าย


ถนนคนเดินภูเก็ต (หลาดใหญ่)


“ถนนคนเดินภูเก็ต หลาดใหญ่” ตั้งอยู่บริเวณย่านการค้าเมืองเก่าภูเก็ต ถนนถลาง ซอยรมณีย์ มีอายุกว่า 100 ปี มีพื้นที่ประมาณ 210 ไร่ และได้ถูกประกาศเป็น “เขตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมศิลปกรรม” ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม


กิจกรรมสาธิตการทำอาหารท้องถิ่น (เชฟชุมชนบ้าน 92)


เข้าครัวบาบ๋ากับเมนูเลื่องชื่อหมี่ผัดฮกเกี้ยน ต้นตำหรับเมืองทุ่งคา ณ.บ้านเลขที่ 92

บ้านเลขที่ 92 ตั้งอยู่ที่ถนนถลาง ด้านหน้าเป็นร้านกาแฟบรรยากาศแบบบ้านโบราณ ด้านในมีเรื่องราวของบ้านโบราณที่ตกแต่งร้านด้วยของใช้ในสมัยโบร


ศูนย์ประชุมสัมมนาท้องถิ่น (Local MICE)


สร้างสีสันให้แก่ท่องเที่ยวชุมชนในรูปในรูปแบบใหม่ โดยใช้ ชุมชนนำความเป็นท้องถิ่นสู่งานประชุม คือเสน่ห์ของท้องถิ่น เราจึงสามารถนำจุดร่วมนี้มาใช้สร้างจุดขายอย่างแตกต่างภายในงานให้ดูโดดเด่นและน่าจดจำได้ ซึ่งให้ผู้เข้าร่วมงานประชุมได้ม


สาธิตการตีมีด (ร้านตีมีดแห่งสุดท้าย)


โรงตีเหล็กไต่สุ่นอั้น เปิดขึ้นมาเพื่อรองรับอุตสาหกรรมเหมืองแร่ดีบุก ด้วยการผลิตเครื่องมือที่ใช้ในการขุดเหมือง เช่น ตะปู ชะแลง คีมจับเหล็ก ที่เจียเหล็ก ถึงแม้ตอนนี้จะไ


รถโพถ้องจำลอง


การจำลองรถโพถ้อง รถโดยสารประจำท้องถิ่นภูเก็ตในอดีตจนถึงปัจจุบัน เป็นการจำลองรูปลักษณะโครงสร้างของรถตังรถโพถ้อง และจำหน่ายเป็นสินค้าประดับ ตกแต่ง ของสะสม สำหรับนักท่องเที่ยวที่มีความสนใจ มีหลายแบบ หลายขนาด ราคาย่อมเยาว์


กระเป๋าผ้าปาเต๊ะ


การผลิตกระเป๋าผ้าปาเต๊ะจากเศษวัสดุที่เหลือจากการตัดเย็บเสื้อผ้าลายปาเต๊ะหรือบาติก นำมาดัดแปลงเป็นงานฝีมือ โดยนำมาขึ้นรูปและตัดเย็บเป็นกระเป๋าใบเล็กๆ สำหรับสุภาพสตรี มีรูปแบบและลวดลายให้เลือกหลากหลาย ขนาด ตามความสนใจของลูกค้าผา


ชุดเสื้อผ้าตุ๊กตาจากเศษผ้าปาเต๊ะ


การนำเศษผ้าปาเต๊ะมาดัดแปลงตัดเย็บเป็นชุดพื้นเมืองสวมใส่ให้ตุ๊กตา เป็นการจำลองวัฒนธรรมการแต่งกายของคนจีนบาบ๋า และสามารถจำหน่ายเป็นสินค้าที่ระลึกให้กับชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต






เครื่องประดับสุภาพสตรี ชนิดต่างๆ


เครื่องประดับชนิดต่างๆ ของสุภาพสตรีชาวจีนบาบ๋า ที่มีเครื่องประดับหลายชนิด สำหรับตกแต่งเครื่องแต่งกายตามวาระและโอกาสของงาน เครื่องประดับได้แก่ “กอสัง” เป็นเข็ดกลัดเสื้อคลุมตั้งแต่คอลงมาจนถึงหน้าอก “ลูกไข่ทองหรือเงิน” เป็นสร้อยก


รองเท้าปักด้วยลูกปัด


รองเท้าแตะปักดิ้นหรือลูกปัด ด้วยลวดลายต่าง ๆ เป็นวัฒนธรรมและลักษณะการแต่งกายของสุภาพสตรีในอดีตจนถึงปัจจุบัน ความนิยมของสุภาพสตรีภูเก็ตมักจะสวมรองเท้าแตะที่มีการปักด้วยลูกปัดในงานพิเศษ เพื่อเป็นเกียรติให้กับเจ้าภาพที่เชิญใ


กระเป๋าลายลูกปัด (ฝีมือโดยสมาชิกของชุมชน)


การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าของระลึกจากผ้าปาเต๊ะมาทำเป็นกระเป๋าถือ ด้วยการปักลวดลายต่าง ๆ ด้วยลูกปัดหลากสี สร้างความเด่นของสินค้า โดยการขึ้นรูปผ้าจากการปักเป็นต้นแบบแล้วนำมาตัดเย็บขึ้นโครงของกระเป๋าตามขนาดที่เตรียมไว้ เป็นส


ผ้าปาเต๊ะ


ลายของผ้าบาติก โดยส่วนมากแล้วจะเป็นลวดลาย และสีสันที่อิงจากธรรมชาติ และอัตลักษณ์วัฒนธรรมรอบตัวของแต่ละชุมชนที่นำเสนอความเป็นภาคใต้ได้อย่างดี ความโดดเด่นของผ้าบาติกจึงอยู่ที่การใช้สี และลวดลายที่คมชัดของภาพที่สามารถบอกอะไรได้หล


ผ้าปักจากลูกปัด


แหล่งกำเนิดของผ้าปาเต๊ะในชวา อินเดีย จีน แต่ละแห่งจะแตกต่างกันเล็กน้อย โดนเฉพาะที่เกาะชวาการทำผ้าปาเต๊ะจะมีเทคนิคการทำที่สูงมาก โดยเฉพาะลวดลาย การนย้อมสี ตลอดจนเนื้อผ้าอินโดนีเซียที่ได้รับยกย่องว่าเป็นผ้าปาเต๊ะชั้นสูง


ผ้าปาเต๊ะเพ้นส์


การคิดค้นนำผ้าปาเต๊ะมาเพิ่มมูลค่า เริ่มจากงานเพ้นท์แล้วพัฒนามาเป็นงานปัก ซึ่งจะใช้ความประณีตและเลือกลายที่ไม่เหมือนใคร เพราะเป็นงานฝีมือที่ใส่ไปแล้วจะเพิ่มความสวยงาม แม้จะต้องใช้ระยะเวลาในการผลิตชิ้นงานของกลุ่มสมาชิกสตรีในชุมชน


หน้ากากอนามัยจากเศษผ้าปาเต๊ะ


การนำเศษผ้าปาเต๊ะมาตัดเย็บเป็นหน้ากากอนามัย และจำหน่ายเป็นสินค้างานฝีมือของชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต