หอนาฬิกาภูเก็ต





ฉิ่มแจ้


บ้านที่อยู่อาศัยของชาวไทยเชื้อสายจีนฮกเกี้ยน จนมีความเป็นอัตลักษณ์ คือ เป็นบ้านเรือนที่เรียกว่า ชิโนโปรตุกีส ซึ่งมีลักษณะการผสมผสานระหว่างสถาปัตยกรรมจีนกับสถาปัตยกรรมโปรตุเกส เรียกบ้านลักษณะนี้ว่า โคโลเนียนสไตล์ หรือ สไตล์อาณานิ


บ้านชินประชา


เป็นกลุ่มอาคารและบ้านเรือนย่านถนนกระบี่ อาคารและบ้านเรือนสำคัญที่เคยมีบทบาทและเป็นที่รู้จักกันดีในเมืองภูเก็ต คือ บ้านชินประชาบ้านชินประชา สร้างขึ้นช่วงปลายรัชสมัยรัชกาลที่ 5 โดยพระพิทักษ์ชินประชา(ตันม่าเสียง) ได้สร้างบ้านหลังนี้ตาม


กลุ่มอาคารย่านถนนพังงาและเชื่อมถนนภูเก็ต


อาคารตึกแถวเมืองภูเก็ต มีองค์ประกอบสถาปัตยกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ทั้งแบบจีน ยุโรป และแบบผสมโปรตุกีส เป็นกลุ่มอาคารและบ้านเรือนย่านถนนพังงาและถนนภูเก็ต บริเวณหัวมุมถนนพังงาและถนนภูเก็ต มีอาคารเก่าแก่ที่สำคัญอยู่สองอาคารปัจจุบ


กลุ่มอาคารสถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกีส


กลุ่มอาคารสถาปัตยกรรมชิโนโปรตุกีส ที่มีการอนุรักษ์โครงสร้าง และไม่ปิดกั้นพื้นที่บริเวณหง่อก่ากี่ ให้พื้นที่ให้คนได้เดินหน้าอาคารได้อย่างสะดวก




อาคารส่องเต็ก


เมื่อปี พ.ศ. 2454 มีการเปิดสอนภาษาจีนแบบท่องจำกับครูตามบ้านหรือศาลเจ้าซึ่งเรียกว่า "ซือซก" ให้กับลูกหลานชาวจีนฮกเกี้ยนในจังหวัดภูเก็ต ต่อมา ปี พ.ศ.2460 ได้ขยายเป็นโรงเรียนฮั่วบุ๋น เมื่อมีนักเรียนเพิ่มขึ้น หลวงชนาทร


เตี๋ยมฉู่


ลักษณะของอาคารที่ก่อสร้างในพื้นที่ใกล้เคียงกันหรือติดกัน ส่วนใหญ่จะเป็นเจ้าของอาคารเดียวกันหรือเป็นเครือญาติ เพราะการก่อสร้าง จะพบว่ารูปแบบจะเหมือนกัน แต่เมื่อมีการสืบทอดรุ่นสู่รุ่นทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง


อาคารมุมถนน


อาคารบริเวณหัวมุนของถนนที่มีการก่อสร้างให้กลมกลืนกับสภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่ ตัวอาคารยังมีรูปแบบที่คล้ายคลึงกัน แตกต่างเฉพาะขนาดและบริเวณที่มีจำกัดของเจ้าของอาคาร




หง่อก่ากี่


อาคารพานิชย์ 2 ชั้น ที่มีซุ้มสี่เหลี่ยมด้านบนเป็นปูนปั้นรูปจั่ว 6 ซุ้ม หน้าจั่วเป็นปูนปั้น ภายนอกจั่วมีลายปูนปั้นหน้าต่าง มีช่องแสงภายใน หน้าต่างและประตูเป็นบานไม้แบบจีน ชั้นล่างมีอาเขต หรือ หง่อก่ากี่ คือ ซุ้มโค้งทางเดินหน้าอาคารตึก


การใช้สีโทนเดียวกันสร้างความคลาสสิก


อาคารย่านเมืองเก่าภูเก็ตที่มีชีวิตชีวาจากการปรับปรุงอาคารให้มีลักษณะและรูปแบบการใช้สีที่ไปในทิศทางเดียวกันสร้างความคลาสสิกให้กับผู้มาเยือน




อาคารย่านการค้าของเมืองเก่าภูเก็ต


ลักษณะของอาคารที่มีการตกแต่งอาคารด้วยสถาปัตยกรรมผสมผสานระหว่างยุโรปและจีน บนถนนย่านการค้าของเมืองเก่าภูเก็ต เป็นอัตตลักษณ์ของชุมชน และยังบอกถึงลักษณะของสถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเจ้าอาคารอีกด้วย



อาคารหรือตึกแถวที่มีรูปแบบแตกต่างกัน


ลักษณะของตัวอาคารย่านเมืองเก่าที่มีการปลูกสร้างติดกันเป็นแนวตลอดเส้นทางบนถนนของชุมชนเมือง มีการทาสีอาคารโดยใช้สีต่าง ๆ เพื่อสร้างความสดใสให้กับตัวอาคาร




อาคารแฝด 2 ชั้น ไม่มีซุ้มโค้ง


อาคาร 2 ชั้น ที่หน้าต่างไม่มีซุ้มโค้ง ไม่มีเสาประดับด้วยลวดลายปูนปั้น มีหน้าต่างบานพับที่สามารถเปิดออกได้ ทำด้วยกระจกจำนวน 3 ช่อง และไม่มีช่องลมอยู่เหนือช่องหน้าต่าง แต่ติดกระจกใสแทนเพื่อรับแสงสว่าง ประตูบ้านเป็นแบบบานกระจก เป็นอาคารที่ปรับ


ลายปูนปั้นนูนแบบไอโอนิค-โครินเธียน


อาคารสีเขียว 2 ชั้น ที่มีการปรับปรุงอาคารเพื่ออยู่อาศัย จุดเด่นของอาคารคือมีหน้าต่างโค้งครึ่งวงกลมจำนวน 3 บาน มีลวดลายปูนปั้นนูนออกมาจากตัวอาคาร มีเสาแบบไอโอนิค-โครินเธียน มีการตกแต่งลายปูนปั้นเหนือหน้าต่าง และด้านข้างทั้ง 2 ด้าน



อาคาร 3 ชั้น ซุ้มระเบียงโค้งครึ่งวงกลม 4 ซุ้ม


อาคารนี้ปรับใช้เป็นโรงรับจำนำของชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต สังเกตได้จากการใช้เหล็กดัดเพื่อป้องกันการขโมยจากมิจฉาชีพ อาคารมี 3 ชั้น แต่ละชั้น จะมีซุ้มระเบียงโค้งครึ่งวงกลม 4 ซุ้ม และมีการก่ออิฐบริเวณระเบียงและต่อเติมด้วยเหล็กดัด ชั้นล่าง เป็นปร


ตึกเก่าศิลปะชิโนโปรตุกีส


ซอยรมณีย์เป็นซอยที่เชื่อมถนนถลางและถนนดีบุกซึ่งทั้งหมดอยู่ในเขตเมืองเก่าของภูเก็ต อันเป็นที่ตั้งของตึกเก่าศิลปะชิโนโปรตุกีส อันเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ ศิลปะแบบภูเก็ต ตึกบางหลังจะพบร่องรอยความเก่าแก่ให้อารมณ์คลาสสิคย้อนยุคอีกแบบ นอกจ


อาคารย่านซอยรมณีย์


ซอยรมณีย์เป็นซอยที่เชื่อมถนนถลางและถนนดีบุกซึ่งทั้งหมดอยู่ในเขตเมืองเก่าของภูเก็ต อันเป็นที่ตั้งของตึกเก่าศิลปะชิโนโปรตุกีสอันเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของ ศิลปะแบบภูเก็ต ตึกบางหลังจะพบร่องรอยความเก่าแก่ให้อารมณ์คลาสสิคย้อนยุคไปอ


อาคาร 2 คูหามีดาดฟ้า


อาคาร 2 ชั้น 2 ห้อง การตกแต่งเสาระเบียงบนหลังคา หน้าต่างไม่มีซุ้มโค้ง ไม่มีเสาประดับด้วยลวดลายปูนปั้น มีหน้าต่างบานพับ ทำด้วยกระจกจำนวน 3 บาน และไม่มีช่องลมอยู่เหนือช่องหน้าต่าง ประตูบ้านเป็นแบบประตูเหล็กดัด มีการตกแต่งด้วยกันสาดพลาสติกยื่นอ


หน้าต่างบานพับไม้ 3 บาน ไม่มีช่องลม


อาคาร 2 ชั้น เป็นอาคารที่หน้าต่างไม่มีซุ้มโค้ง ไม่มีเสาประดับด้วยลวดลายปูนปั้น มีหน้าต่างบานพับ ทำด้วยไม้จำนวน 3 บาน หน้าต่างสามารถเปิดออกจากกันได้เพื่อรับลมและแสงสว่าง และไม่มีช่องลมอยู่เหนือช่องหน้าต่าง ประตูบ้านเป็นแบบประตูกระจก มีกา


หน้าต่างบานพับกระจก 3 ช่องและไม่มีช่องลม


อาคาร 2 ชั้น ที่หน้าต่างไม่มีซุ้มโค้ง ไม่มีเสาประดับด้วยลวดลายปูนปั้น มีหน้าต่างบานพับ ทำด้วยกระจกจำนวน 3 บาน และไม่มีช่องลมอยู่เหนือช่องหน้าต่าง ประตูบ้านเป็นแบบประตูเหล็กดัด มีการตกแต่งด้วยกันสาดอลูมิเนียมยื่นออกมาจากชั้นสอง ทาสีโทนเหลือง


อาคารตัวอย่างย่านเมืองเก่าภูเก็ต


ศูนย์บริการท่องเที่ยวชุมชนย่านเมืองเก่าภูเก็ต ของเทศบาลเมืองภูเก็ต มีสถาปัตยกรรมชิโนยูโรเปี้ยนที่ชัดเจน เป็นแบบของผู้ที่สนใจในเรื่องสถาปัตยกรรมอาคารเก่า 




หน้าต่างบานพับไม้ 2 ช่อง


อาคารเก่า 2 ชั้น ที่หน้าต่างไม่มีซุ้มโค้ง ไม่มีเสาประดับด้วยลวดลายปูนปั้น เป็นหน้าต่างบานพับที่สามารถเปิดออกได้ ทำด้วยบานไม้จำนวน 2 ช่อง และไม่มีช่องลมอยู่เหนือช่องหน้าต่าง แต่ติดกระจกใสแทนเพื่อรับแสงสว่าง พื้นบ้านปูด้วยกระเบื้องขัดสมัยใหม่


ช่องลมเหนือซุ้มหน้าต่างลายฉลุแบบจีน


อาคาร 2 ชั้นสถาปัตยกรรมชิโนยุโรเปี้ยน ผสมผสานความเป็นยุโรปและจีน ชั้นบนมีหน้าต่างเป็นซุ้มโค้ง 4 บาน มีช่องลมอยู่เหนือซุ้มหน้าต่าง มีลายฉลุแบบจีน แต่เสาไม่มีลายปูนปั้น ชั้นล่างของตัวอาคารก็มีช่องลมระบายอากาศ ลายฉลุแบบจีน



หน้าต่างกรอบไม้กระจกบานพับ 4 บาน


อาคาร 2 ชั้น หน้าต่างไม่มีซุ้มโค้ง ไม่มีเสาประดับด้วยลวดลายปูนปั้น มีหน้าต่างบานพับ ทำด้วยกระจกจำนวน 4 บาน และไม่มีช่องลมอยู่เหนือช่องหน้าต่าง ประตูบ้านเป็นแบบประตูเหล็กดัด ผนังอาคารฉาบด้วยปูนและอิฐ ไม่มีหัวเสา แต่มีกรอบคิ้วของอาคารบนชั