วิธีการนุ่งผ้าไทครั่ง


คนไทครั่งจะนิยมนุ่งแบบรวบ คาดเอวด้วยเข็มขัด ต่อมามีการนุ่งแบบเหน็บ


กระปุกลายคราม


กระปุกที่มีศิลปะแบบจีนชนิดสำริด ซึ่งมีอายุสมัยราวต้นพุทธศตวรรษที่ 22 พบที่บริเวณเมืองไตรตรึงษ์ จังหวัดกำเเพงเพชร มีลักษณะเป็นเครื่องภาชนะกระเบื้อง หรือเครื่องถ้วยของจีน ชนิดที่เขียนลายเป็นสีคราม ซึ่งกระปุกลายหรือเครื่องลายครามเป็นเครื่องภาช


กระปุกข้องสองหู


มีรูปทรงคล้ายน้ำเต้าและหูหิ้วสองหู เคลือบสีน้ำตาล "อายุประมาณ 700 ปี"


โถหิน


ขนาดเล็กเคลือบสีเทาบางและสีเขียวเขียว ขุดพบในสวรรคโลกประเทศไทยในศตวรรษที่ 14 เครื่องปั้นดินเผาศิลาดล ทำด้วยเคลือบสีเขียวโปร่งแสง โดยทั่วไปแล้วจะมีลักษณะหนาและเป็นแก้ว มีแนวโน้มที่จะรวมตัวและก่อตัวเป็นหยดหนัก สีของช่วงสีเขียว/สีน้ำเงิน ซึ่


ตุ๊กตานกฝูง


ตุ๊กตานกฝูง เป็นหลักฐานหนึ่งที่ช่วยให้เราเข้าใจวิถีชีวิตของคนในสมัยสุโขทัยได้ชัดเจนมากขึ้นและสะท้อนความเชื่อและการรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากดินแดนใกล้เคียง "อายุประมาณ 700 ปี"



กระปุกเหลี่ยม


กระปุกเขียนลายสีครามใต้เคลือบจากเตาในประเทศเวียดนาม สมัยราชวงศ์เล อายุราวต้นถึงปลายพุทธศตวรรษที่ 21



กระปุกมะตูม


กระปุกรูปทรงคล้ายผลมะตูม ลำตัวป่องจากด้านล่างขึ้นด้านบน ด้านล่างจะป่องออกมากว่าเล็กน้อย คอสั้นประกอบกับมีหูสองข้างรับเข้ากับตัวกระปุก ปากเล็กมน "อายุประมาณ 700 ปี"


ลูกจันทร์


กระปุกลวดลายคล้ายลายสกอต ขนาดเล็ก รูปทรงค่อย ๆ ป่องออกไปถึงไหล่ ปากเล็กไม่บานออก เคลือบด้วยสีน้ำตาลสลับสีขาวนวลคล้ายสีไข่ "อายุประมาณ 700 ปี"



เต้าปูนสำริด


ภาชนะปูนสีบรอนซ์ซึ่งผลิตขึ้นเพื่อใช้ในวัฒนธรรมการเคี้ยวหมาก มีขอบปากสูงที่ไม่เคลือบซึ่งช่วยให้ฝาและลำตัวพอดีกัน คุณลักษณะที่นำมาใช้ในภาชนะเซรามิคและกล่องปิด "อายุประมาณ 700 ปี"



ขวดปรอทรูปน้ำเต้า


ดินเหนียวสีแดงเคลือบน้ำตาลครึ่งบน พบในศตวรรษที่ 14 เป็นเครื่องปั้นดินเผาขาวดำ รูปร่างที่พบบ่อยที่สุดคือ ขวดโหลที่มีวงแหวนขนาดเล็ก สารเคลือบจะหยุดระยะห่างเหนือฐาน


ตุ๊กตาเสียกบาล


ตุ๊กตาปั้นดินเผาเคลือบสมัยสุโขทัย มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 19 – 20 เป็นหลักฐานหนึ่งที่ช่วยให้เราเข้าใจวิถีชีวิตของคนในสมัยสุโขทัยได้ชัดเจนมากขึ้นและสะท้อนความเชื่อและการรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากดินแดนใกล้เคียง ปัจจุบันยังไม่พบหลักฐานที่สามารถชี้ชัดได


ไหตุรกี


ไหขนาดใหญ่ รูปทรงค่อย ๆ ป่องออกทางไหล่ ก้นมีความเรียบไปกับตัวไห คอสั้นตรง ปากมีขอบวงแหวนสวยงาม "อายุประมาณ 700 ปี"


จานลายดอกโบตั๋น


ดอกโบตั๋นเป็นสัญลักษณ์ของฤดูใบไม้ผลิ และเป็นเครื่องหมายของความงามเลิศ ความร่ำรวย มั่งคั่ง "อายุประมาณ 700 ปี"


กุณโฑ


มีลักษณะบริเวณลำตัวกลมแป้นคล้ายลูกพลับ ส่วนคอยาวเป็นรูปทรงกระบอก บางครั้งมีลักษณธปากผายออก คอสั้น ลำตัวป่องออก


พานปากกระจับ


ลวดลายข้าวหลามตัด มีการบิดเบี้ยวมักเกิดจากการเผาด้วยอุณหภูมิที่สูงเกินไป การเรียงผลิตภัณฑ์ตั้งอยู่ใกล้ห้องใส่ไฟที่มีอุณหภูมิสูง ทำให้ผลิตภัณฑ์เกิดการบิดเบี้ยวเสียรูปทรงได้ หรืออาจเกิดจากการเรียงวางซ้อนกันในเตามากเกินไปจนภาชนะใบล่างรับน้ำหนักไม่ไหวเกิ


แจกันมะตูม


ทรงหมอบพร้อมหูหิ้วสองห่วง เคลือบสีเขียว เป็นแจกันโบราณในสมัยศรีสัชนาลัยที่ขุดค้นพบในหาดแม่น้ำยมมีลักษณะสมบูรณ์


ไห หมายเลข 61


พบที่เกาะน้อยที่มีร่องรอยของกระดูกเผาศพ รวมทั้งวัตถุโบราณอื่น ๆ ในบริเวณใกล้เคียง โบราณวัตถุที่พบในหลุมศพ เช่น เครื่องปั้นดินเผา ภาชนะปูนขาว และเครื่องประดับส่วนตัว ซึ่งใช้ในชีวิตประจำวัน เซรามิคสำหรับฝังศพบางส่วนมาจากที่ไกลและบางชิ้นถูกผ