เตาทุเรียง หมายเลข 42


โครงการศึกษาและอนุรักษ์เตาสังคโลกศรีสัชนาลัย ระยะที่ 3 มีเตาทับถมกันอยู่จำนวนมาก ค้นพบเตาทรงประทุนเรือ และเตาทรงตะกรับ ซึ่งมีลักษณะเป็นรูคล้ายเตาอั้งโล่ เป็นแหล่งผลิตเครื่องปั้นดินเผา เนื่องจากตั้งอยู่ใกล้แหล่งน้ำ ในอดีตมีการขนส่งทางน้ำ ม


เตาทุเรียง หมายเลข 123


โครงการศึกษาและอนุรักษ์เตาสังคโลกศรีสัชนาลัย ระยะที่ 2 สร้างขึ้นด้วยอิฐดินเผา รูปทรงประทุนเรือ ทับถมกันอยู่ด้วยกัน 5 เตา ผนังเตาจะมีสีดำปรากฏอยู่ เนื่องจากตอนเผามีความร้อนสูงแร่ซิลิกามีการระเหยไปติดที่ผนังเตา ต่อมาถูกบูรณะโดยกรมศิลปากร


เตาสังคโลกด้านนอก


ถูกค้นพบอยู่ที่ หมู่ 5 ในตำบลเกาะน้อย เมื่อ 700 ปีก่อน พื้นที่นี้เคยเป็นอุตสาหกรรมผลิตเครื่องสังคโลกในยุคศรีสัชนาลัย กรมศิลปากรเป็นผู้ดูแล เปิดเมื่อปี 2534 ยุคแรกการสร้างเตาจะสร้างใกล้แม่น้ำยม สร้างเป็นลักษณะเหมือนอุโมงค์แต่ได้ยกเลิกไป เนื่องจากในยุค