ผ้าฝ้ายมัดย้อม


ตามประเพณีและวัฒนธรรมเดิมของชาวไทญ้อ ทั้งชายและหญิงแต่งกายด้วยเสื่อผ้าสีดำ ซึ่งทอด้วยผ้าฝ้ายพื้นเมืองย้อมด้วยน้ำคราม เรียกว่า “ผ้าย้อมหม้อ” (เหมือนกับผ้าหม้อฮ่อมของทางภาคเหนือ) ทุกวันนี้ในอำเภอท่าอุเทนยังมีการทำสวนคราม เพื่อทำ

ผ้าย้อมสีไม้มงคล ความหมายดีบนผืนผ้า


ผ้าทอไทญ้อบ้านโพนไม่ได้มีแค่สีครามของชุดประจำชาติพันธุ์เท่านั้น แต่ชาวบ้านโพนยังย้อมผ้าเป็นสีอื่นๆ โดยใช้วัสดุย้อมสีจากธรรมชาติอีกหลายสี ที่ได้รับการสืบทอดภูมิปัญญามาจากชาวไทญ้อรุ่นก่อนๆ ซึ่งไม้ท

ผ้าฝ้ายปักดิ้นเงิน


ผ้าฝ้ายปักดินเงิน เป็นผลิตภัณฑ์สินค้าชุมชนบ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม โดยมีกรรมวิธีในการทอผ้าให้เป็นลวดลายประเภทต่าง ๆ เหล่านี้ได้นำมาใช้กับผ้าทอที่ต้องการใช้สอยในลักษณะที่ต่างกันไป โดยเฉพาะการทอผ้าคั่นด้วยดิ้น

ข้องลอย


ข้องลอยเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการจับปลาที่สานด้วยไม้ไผ่ มีทุ่นผูกติดไว้ 2 ข้าง บ้างก็ใช้โฟมเพื่อให้ลอยน้ำได้ ซึ่งจะมีประโยชน์เวลาลงไปหาปลาในแหล่งน้ำ ทำให้ใช้งานสะดวกและปลายังมีชีวิตอยู่ได้ โดยลักษณะของข้องลอยนั้นจะรูปร่างคล้ายเป็ดและส่วนบนตัวข้องนิย

เสื้อเชิ้ตผ้าฝ้ายลายผ้าขาวม้า


เสื้อเชิ้ตผ้าฝ้ายลายผ้าขาวม้า เป็นการแปรรูปผ้าขาวม้าให้เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนสร้างสรรค์งาน โดยกลุ่มอาชีพทอผ้าและผ้าย้อมสีเปลือกไม้มงคล ซึ่งการตัดเย็บเป็นลักษณะงานผ้าฝ้ายทอมือใส่สบาย งานดีสีสด สีและลายจะไม่เห

ตุ๊กตาผีน้อย


ตุ๊กตาผีน้อยของที่ระลึก เป็นผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกที่กลุ่มของฝากของที่ระลึกชุมชนไทญ้อบ้านโพน โดยนำเส้นด้ายผ้าฝ้ายมาต่อยอดและออกแบบสร้างสรรค์เป็นตุ๊กตามีรูปร่างคล้ายคนนำมาทำเป็นพวงกุญแจตุ๊กตาผีน้อยของที่ระลึกของชุมชนบ้านโพน อำเภ

เสื้อผ้าฝ้าย


เสื้อผ้าฝ้าย เป็นผลิตภัณฑ์ของกลุ่มอาชีพผ้าฝ้ายมัดย้อมและผ้าย้อมสีเปลือกไม้มงคล โดยมีการนำผ้าฝ้ายพื้นเมืองย้อมด้วยน้ำคราม เรียกว่า “ผ้าย้อมหม้อ” (เหมือนกับผ้าหม้อฮ่อมของทางภาคเหนือ) ซึ่งมีขั้นตอนการมัดหมี่ของชาวไทญ้อบ้านโพนจะมีขั้นตอนคล้ายการมั

ไข่เค็มดินขี้ทา ของดีจากแหล่งเกลือสินเธาว์


ไข่เค็มดินขี้ทา (ดินเค็ม) เป็นการสร้างสรรค์และต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้ดินเอียด (ดินเค็ม) ที่อยู่บริเวณนาเกลือในชุมชนบ้านโพน อำเภอท่าอุเทน ที่นำมาทำ “เกลือขี้ทา” หรือ “เกลือสินเธาว์โบราณ” ซึ่งการผลิตเกลือสินเธาว์ในชุมชนไทญ้อ

กระท่อ-กระบุง


กระบุง หรือกะบุง ภาชนะสานทึบด้วย ‘ตอก’ คือไม้ไผ่ รูปกลม ตรงกลางป่องเล็กน้อย ก้นรูปสี่เหลี่ยม ใหญ่กว่ากระบายเท่าตัว ขอบมีไม้เสริม และมีการทาปิดช่องของตะกร้าด้วยขี้ซี ใช้เป็นภาชนะ ที่ชาวไทญ้อบ้านโพนในอดีตใช้เป็นภาชนะในกา

แอบสานจากต้นกก


แอบสานจากต้นกก เป็นผลิตภัณฑ์ของฝากของที่ระลึกใช้ในการใส่ของขนาดเล็ก ซึ่งเกิดจาก การจักสานจากต้นกก โดยนำต้นกกพันธุ์น้ำจืด (กกกลม) ที่มีอยู่ในชุมชนบ้านโพนมาใช้ในการสานมีรูปลักษณ์กล่องใส่ของขนาดเล็ก สามารถ

หมอนรองคอะผ้าฝ้าย


หมอนรองคอผ้าฝ้าย เป็นผลิตภัณฑ์ที่สร้างสรรค์ขึ้นจากปราชญ์ชาวบ้านด้านการทำของฝาก ของที่ระลึกจากผ้าฝ้ายมัดย้อมและผ้าย้อมสีเปลือกไม้มงคล โดยเย็บให้มีขนาดกลางๆ ใช้เพื่อตอบโจทย์ผู้มาเยี่ยมเยือนหมู่บ้านวัฒนธรรมไทญ้อบ้านโพน โดยมีค

ศาลาการเปรียญหลังเก่าก่ออิฐถือปูน


ศาลาการเปรียญหลังเก่า หรือหอแจกโบราณ วัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เป็นอาคารโบราณที่เป็นศิลปะพื้นบ้าน เป็นอาคารทรงโรงชั้นเดียว ก่อผนังเตี้ยๆ รอบทุกด้าน ยกเว้นทางทิศตะวันตกที่ก่อผนังและทำเป็นช่องหน้าต่างแทน หอแจกหรือศาลาการเปรีย

ดอนปู่ตาผืนป่าวัฒนธรรมของชนเผ่าไทญ้อบ้านโพน


แต่ละหมู่บ้านในภาคอีสานจะนับถือผีประจำหมู่บ้านที่เรียกว่า “ผีปู่ตา” สำหรับชาวไทญ้อ ก็เช่นกัน นับถือผีประจำหมู่บ้านเสมือนกับเป็นหลักบ้านหลักเมืองที่คอยดูแลทุกข์สุขป้องกันภัยอันตรายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับคนในห

ศาลาการเปรียญไม้เก่าแก่หลังใหญ่


ศาลาการเปรียญไม้เก่าแก่หลังใหม่ เป็นศาลาการเปรียญหลังที่สอง สร้างเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2527 เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2529 มีขนาดกว้าง 14 เมตร ยาว 16 เมตร เสาเป็นคอนกรีต เสริมเหล็ก ห

สิมโบราณ


สิมโบราณ หรือ โบสถ์ ของวัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม สร้างเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2510 และเสร็จเมื่อ พ.ศ. 2515 โดยหลวงพ่อบล จันฒิโย เป็นผู้นำ ได้รับความร่วมมือจากประชาชนในหมู่บ้าน หมู่บ้านใก

ธรรมจักรในดินแดนสุวรรณภูมิที่มีกวางหมอบอยู่ 2 ข้าง


ธรรมจักรในดินแดนสุวรรณภูมิที่มีกวางหมอบอยู่ 2 ข้าง เป็นไม้แกะสลักอยู่ถัดขึ้นไปจากบานประตูไม้แกะสลักรูปเทวาทวารบาลจากประตูซุ้มทางเข้าอุโบสถ (สิม) วัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ยังมีสัญลักษณ์ทางศาสนาของธรรม

เฮือนไทญ้อ


 เฮือนไทญ้อ ตั้งอยู่ภายในพื้นที่วัดคามวาสี บ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม เฮือนไทญ้อ สร้างขึ้นด้วยการจำลองโดยถอดแบบและขนาดจริงของรูปลักษณะการสร้างบ้านของชาวไทญ้อบ้านโพน ทุกประการ เฉือนไทญ้อ เป็นเรือ

หอระฆังโบราณ


หอระฆัง ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดคามวาสี เป็นอาคารยกสูง 2 ชั้น ลักษณะก่อสร้างตัวอาคาร ด้วยโครงสร้างและองค์ประกอบเป็นไม้ทั้งหลัง มีไม้พาดเป็นขื่อสำหรับแขวนระฆังมีความโปร่งโล่ง เพราะไม่ได้ก่อฝาผนังทึบตัน

วัดคามวาสี


วัดบ้านโพนมีชื่อทางการว่า “วัดคามสี” เป็นวัดมหานิกายที่อยู่ในเขตปกครองของคณะสงฆ์ ตำบลโนนตาล อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ภาคการศึกษา 10 ตั้งอยู่ในเนื้อที่ประมาณ 6 ไร่ ได้รับอนุญาตให้ตั้งเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2434

พิพิธภัณฑ์พระพุทธรูปและโบราณวัตถุวัดคามวาสี บ้านโพน


พิพิธภัณฑ์พระพุทธรูปและโบราณวัตถุวัดคามวาสี บ้านโพน ตั้งอยู่ภายในพิพิธภัณฑ์ ศูนย์วัฒนธรรมไทญ้อวัดคามวาสี บ้านโพน (พิพิธภัณฑ์หมู่บ้านวัฒนธรรมชนเผ่าไทญ้อ ซึ่งเป็น 1 ใน 10 พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในแผ่นดินอีสา

นางบุญเรือง กิตติศรีวรพันธ์


นางบุญเรือง กิติศรีวรพันธุ์ ท่านเป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านการประกอบอาหารพื้นถิ่นคาวหวานไทญ้อบ้านโพน, ปราชญ์ชาวบ้านด้านการทอผ้าฝ้าย, และเป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านการย้อมผ้าสีไม้มงคล และเป็นสมาชิกกลุ่มทอผ้

นายคฑาเทพ วดีอดิศักดิ์


นายคฑาเทพ วดีศิริศักดิ์ ท่านเป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านการท่องเที่ยวชุมชน และเป็นที่ปรึกษาด้านการท่องเที่ยวชุมชนไทญ้อบ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ เลขที่ 101 หมู่ที่ 8 ตำบลโนนตาล อำเภอท่าอุเทน จัง

นายไพฑูรย์ กิตติศรีวรพันธ์


นายไพฑูรย์ กิติศรีวรพันธุ์ ท่านเป็นปราชญ์ชาวบ้านชุมชนไทญ้อบ้านโพน, ปราชญ์ชาวบ้านด้านการประกอบอาหารพื้นถิ่นไทญ้อหมูหันไทญ้อบ้านโพน และเป็นประธานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเลี้ยงโคกระบือบ้านโพน อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ที่อยู่ที่สามา

พระครูอุดมกิจพิพัฒน์


พระครูอุดมกิจพิพัฒน์ (พูนทรัพย์ ทีฆายุโก น.อ.เอก) เจ้าคณะตำบลโนนตาล เขต 2 ตลอดจนเป็นพระอุปัชฌาย์ ปัจจุบันพระคุณเจ้าดำรงตำแหน่งรองเจ้าคณะอำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม โดยพระคุณเจ้าได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าคณะอำเภอท่าอุเทน ในวันเสาร์ที่ 29 สิงหา