ชุมชนไทครั่ง


ไทครั่งบ้านเกาะน้อย ตำบลหนองอ้อ อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย เป็นชุมชนที่อพยพมาจากภูคลัง หลวงพระบาง ในสมัยรัชกาลที่ 3 ย้ายมาอยู่ที่หมู่ 6 บ้านเกาะน้อย เมื่อ พ.ศ. 2500 คำว่า ครั่ง มีที่มาจากการที่เคยใช้ครั่ง (Laccifera chinensis) ย้อมผ้าใ

หมอนท้าว


ใช้สำหรับท้าวแขนของพ่อปู่ (พ่อสามี) ที่ลูกสะใภ้จะมอบให้ในวันแต่งงาน

หมอนนก


ลูกสะใภ้จะมอบหมอนให้พ่อ แม่ของตัวเอง เจ้าบ่าวในงานมงคลสมรส พร้อมกับลายปลอกหมอนที่ทำขึ้นอย่างสวยงาม

เสื้อไทครั่ง


เสื้อย้อมสีด้วยคราม เปลือกไม้ประดู่ ลูกมะเกลือ และนำมาหมักขี้โคลน มีกระดุม 5 เม็ด ในอดีตใช้กระดูกงู และใช้กระดุมเงิน

สไบหญิง


ใช้สำหรับประกอบการแต่งกายของผู้หญิง

สไบชาย


ใช้สำหรับการแต่งกายในสถานที่ศักดิ์สิทธิ์และงานมงคลต่าง ๆ เช่น วัด งานพิธีการ งานแต่งงาน อื่น ๆ

ผ้าโสร่ง


ผ้านุ่งสำหรับผู้ชาย

ผ้าขาวม้า


ผ้านุ่งสำหรับผู้ชาย มีลวดลายเป็นลายสก็อต มีความแตกต่างจากผ้าขาวม้าอื่น คือ จะมีการผสมลายขิด

ผ้าคลุมหัวนาค


ผ้าที่มีลวดลายดอกร่ม ม้า และช้าง เป็นผ้าที่ใช้สำหรับคลุมหัวนาคในพิธีอุปสมบทผ้าปกหัวนาค ลักษณะเป็นผ้าสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทอด้วยฝ้ายสีขาว ใช้เทคนิคการทอจกและขิด มีชายครุย 2 ด้าน ขอบอีก 2 ด้านเย็บด้วยผ้าฝ้ายสีแดง ในประเพณีบวชนาค เมื่อนาคโ

สไบลายช้าง


ลายช้าง แสดงถึงความยิ่งใหญ่ น่าเกรงขาม และสื่อถึงความเกี่ยวพันกับพระพุทธศาสนา หรือการเป็นตัวแทนของพระมหากษัตริย์ที่จะคอยดูแลทุกข์สุขให้ประชาชน "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้าล้อ


เป็นผ้าปูที่นอนผู้ใหญ่ของคนไทครั่งโบราณ "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้าซิ่นยกลายข้าวหลามตัดตีนขอแมงป่อง


ตัวลายข้าวหลามตัด ตีนขอแมงป่องหรือแมงงอด "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้าซิ่นยกลายดอกแก้วตีนขอแมงป่อง


ตัวลายดอกแก้ว ตีนขอแมงป่องหรือแมงงอด "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้าซิ่นกานสิบซิ่วตีนลายมะระ


ผ้าก่านสิบซิ่วหรือผ้าซิ่นก่าน คือ ผ้าทอจกลายต่าง ๆ ทั้งผืนเป็นซิ่นสองตะเข็บ นิยมทอเส้นยืนและเส้นพุ่งเป็นสีดำ ใช้เทคนิคการจกด้วยฝ้ายหรือไหมเป็นหลัก โดยซิ่นก่านยังแยกประเภทออกเป็นซิ่นซิ่วได้ โดยมีลักษณะแตกต่างที่บริเวณตัวซิ่น คือ “ซิ่นซิ่ว” จะทอลายข

ผ้ามัดหมี่น้อย


ผ้าหมี่น้อยหรือผ้าซิ่นหมี่น้อย คือ ผ้าซิ่นมัดหมี่ที่มีวิธีการทอที่มีลักษณะเป็นแถวลายเล็กและลายใหญ่สลับด้วยฝ้ายหรือไหมพื้นสีต่าง ๆ แต่ใช้วิธีการจกลาย ใช้เทคนิคการมัดหมี่ ทอสลับด้วยการขัดสานธรรมดา ทำให้เกิดลายริ้วเป็นแนวขนานกับลำตัว นิยมทอลายนาค ลาย

ผ้ามัดหมี่ตาตีนลายขอกระบวย


ซิ่นหมี่ตา ใช้เทคนิคมัดหมี่สลับกับการจกหรือขิด ทำให้เกิดลวดลายขนานกับลำตัวลวดลายของมัดหมี่จะเป็นลายหงส์หรือนาคเป็นส่วนใหญ่ "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้ามัดหมี่ขอนาคตีนลายเบ็ดเตล็ด


ตัวลายขอนาค ตีนลายเบ็ดเตล็ด "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้ามัดหมี่ลายเปลวไฟตีนลายปิ่น


ตัวลายเปลวไฟ ตีนลายปิ่น "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้ามัดหมี่ลายอู่สำเภาตีนลายนกเป็ด


ตัวลายอู่สำเภา ตีนลายนกเป็ด "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้ามัดหมี่ลายอู่สำเภาตีนลายมะระ


ตัวลายอู่สำเภา ตีนลายมะระ "อายุประมาณ 100 ปี"

ผ้ามัดหมี่ขอหลวง


ลายผ้าโบราณของไทครั่งเกิดจากการคิดถอดแบบจากธรรมชาติหรือจินตนาการตามชีวิตประจำวันของคนโบราณ  ลายขอหลวงก็เช่นกันเป็นการเลียนแบบจากเถาวัลย์ที่มีขนาดใหญ่ ผ้าผืนนี้มีอายุประมาณ 100 ปี

กระปุกลายคราม


กระปุกที่มีศิลปะแบบจีนชนิดสำริด ซึ่งมีอายุสมัยราวต้นพุทธศตวรรษที่ 22 พบที่บริเวณเมืองไตรตรึงษ์ จังหวัดกำเเพงเพชร มีลักษณะเป็นเครื่องภาชนะกระเบื้อง หรือเครื่องถ้วยของจีน ชนิดที่เขียนลายเป็นสีคราม ซึ่งกระปุกลายหรือเครื่องลายครามเป็นเครื่องภาช

กระปุกข้องสองหู


มีรูปทรงคล้ายน้ำเต้าและหูหิ้วสองหู เคลือบสีน้ำตาล "อายุประมาณ 700 ปี"

โถหิน


ขนาดเล็กเคลือบสีเทาบางและสีเขียวเขียว ขุดพบในสวรรคโลกประเทศไทยในศตวรรษที่ 14 เครื่องปั้นดินเผาศิลาดล ทำด้วยเคลือบสีเขียวโปร่งแสง โดยทั่วไปแล้วจะมีลักษณะหนาและเป็นแก้ว มีแนวโน้มที่จะรวมตัวและก่อตัวเป็นหยดหนัก สีของช่วงสีเขียว/สีน้ำเงิน ซึ่