คลองละงู


อยู่ในเขตอำเภอละงู จังหวัดสตูล ต้นกำเนิดของคลองสายนี้เกิดจากทิวเขาในเขตจังหวัดตรัง และ จังหวัดพัทลุงซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่งน้ำบนภูเขาไหลลงเป็นน้ำตก ไหลผ่านอำเภอมะนังที่บ้านป่าพน บ้านวัง พะเคียน เข้าเขตอำเภอควนกาหลง ตำบลอุไดเจริญ เรียกชื่อคลองช่วงนี้ว

คลองทุ่งหว้า


คลองทุ่งหว้าอยู่ในเขตอำเภอทุ่งหว้า เกิดจากสายน้ำเล็กๆ หลายสายบริเวณเทือกเขาบรรทัด ไหลมารวมกันที่บ้านทุ่งดินลุ่ม บ้านป่าแก่บ่อหิน บ้านโล๊ะไฟ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จากนั้นก็ไหลผ่านบ้านท่าขาม บ้านท่าอ้อย แล้วแยกออกเป็นสองสาย สายหนึ่งออกสู่ทะเลบ

สูไงอูเปะฮฺ : ปีนังน้อยแห่งเมืองสตูล


เมื่อพ.ศ. ๒๕๔๘ สภาวัฒนธรรมจังหวัดสตูลได้แปลบันทึกจดหมายเหตุพระยาภูมินารถภักดีจากภาษามลายูจำนวน ๒ เล่มเป็นภาษาไทย และพิมพ์เผยแพร่เมื่อพ.ศ. ๒๕๕๐ โดยตั้งชื่อหนังสือว่า "บันทึกจดหมายเหตุพระยาภูมินารถภักดี พ.ศ. ๒๔๓๙ -๒๔๔๓" ถึงแม้ว่าการแปลจดหมายเหตุพระย

กำปงจีนา – บ้านจีน : เรื่องของซัวเต๊ง และ อาคารไม้ ๑๐๐ ปี


บ้านจีน เดิมเป็นหมู่บ้านเรียกเป็นภาษามลายูว่า “กำปงจีนา” หมายถึง หมู่บ้านที่มีชาวจีนกลุ่มใหญ่ตั้งถิ่นฐานอยู่ นั่นเอง ซึ่งมีหลักฐานอ้างอิงได้ว่า ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เมืองสตูลอยู่ในสถานะเป็น มูเก็ม

ถนนบุรีวานิช : จุดเริ่มต้นของถนนมำบังนังคะรา-บ้านจีน


ถนนบุรีวานิชถนนสายแรกของมำบังนังคะรา ในอดีต ยุคของพระยาภูมินารถภักดีเป็นผู้ว่าราชการเมืองสตูลถนนนี้เป็นจุดเริ่มต้นของถนน มำบังนังคะรา - บ้านจีน และเป็นต้นทางของถนนสามสายในเวลาต่อมา ถนนบุรีวานิชเริ่มต้นจากป้อมยามตำรวจทอดยาวมาสิ้นสุดตรงแยกด้านข้างมัสยิ

สตูล : สมัยรัตนโกสินทร์


สมัยรัชกาลที่ ๑ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ อังกฤษขอเช่าเกาะหมากจากพระยาไทรบุรี (ตนกูอับดุลละ โมกุลรัมซะ) เจ้าพระยาไทรบุรีๆ เกรงไทยจะลงไปปราบเช่นเดียวกับปัตตานี จึงตกลงให้อังกฤษเช่าเกาะหมากภายใต้เงื่อนไขว่าอังกฤษต้องส่งกำลังมาช่วยเมืองไทรบุรีในกรณีที่มีศั

สตูล : สมัยธนบุรี


เนื่องจากสมัยธนบุรีเป็นช่วงระยะเวลาสั้น และเหตุการณ์ในช่วงนี้ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองปัตตานี และเมืองไทรบุรีได้ตั้งตนเป็นอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาเมื่อ พ.ศ. ๒๓๑๐ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชปราบคืนได้เพียงเมืองนครศรีธรรมราช ระยะนี้สตูลซึ่งเป็น

สตูล : สมัยอยุธยา


ในสมัยอยุธยาปรากฏชื่อ “เมืองละงู” และ “เมืองไทรบุรี” ในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชและตำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช ในหนังสือบุดที่คัดลอกจากต้นฉบับเดิม ๙ ดังนั้นหัวเมืองที่ปรากฏในตำนานจึงมีอยู่ก่อนการคัดลอก ความในตำนานเมืองนครศรีธรรมราชกล่าวถึงพญาศรีธรรม

สตูล : สมัยสุโขทัย


ศิลาจารึกหลักที่ ๑ สมัยสุโขทัยกล่าวถึงดินแดนของอาณาจักรสุโขทัยด้านทิศใต้ ปรากฏ ดังนี้ “...เบื้องหัวนอน รอดคนที พระบาง แพรก สุพรรณภูมิ ราชบุรี เพชรบุรี ศรีธรรมราช ฝั่งทะเล สมุทร เป็นที่แล้ว...” หากพิจารณาความตามศิลาจารึก อาณาจักรสุโขทัยครอบคล

สตูล : สมัยก่อนประวัติศาสตร์


ในหนังสือภูมิศาสตร์ของปโตเลมี นักภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์ชาวกรีก ในพุทธศตวรรษที่ ๗ ได้บันทึกชื่อเมืองท่าต่างๆ ของโลกไว้ประมาณ ๘,๐๐๐ ชื่อ และ ๑ ในนั้นคือ “เมืองท่าซาบานา”(Sabana) ตั้งอยู่ที่ ละติจูด ๓ องศาเหนือ ลองจิจูด ๑๖๐ องศาตะวันออก ซึ่งหม่อมเจ้าจัน