ตะโก้ หรือ ตะโก้ย (ไส้ข้าวโพด)


เป็นแป้งกวนนึ่ง ด้านล่างทำมาจากแป้งผสมข้าวโพด เนื้อนิ่มๆ คล้ายๆ ด้านบนจะเป็นกะทิสีขาว






โก้ยตาล้าม


"โก้ยตาล้าม" เป็นแป้งกวนนึ่ง ด้านล่างทำมาจากแป้งผสมใบเตยสีเขียว เนื้อนิ่มๆ คล้ายๆ ตะโก้ใบเตย ด้านบนจะเป็นกะทิสีขาว โก้ยตาล้ามเป็นชื่อเรียกตามสำเนียงของชาวจีนฮกเกี้ยนในภูเก็ต ทานง่าย นิ่มๆ




แปะถึ่งโก้ย


"แปะถึ่งโก้ย" คล้ายๆ ขนมถ้วยฟู หรือขนมน้ำตาลทรายขาว เป็นขนมที่หาทานยากแล้วค่ะ ตัวขนมสีขาวๆ เนื้อฟูๆ ด้วยหน้าจะมีสีแดงๆ





ฮวดโก้ย (ขนมถ้วยฟู)


"ฮวดโก้ย" หรือขนมถ้วยฟู เนื้อขนมทำมาจากแป้งข้าวเจ้า น้ำตาลทราย ยีสต์ ผงฟู และเติมสีผสมอาหารเพิ่มสีสัน เป็นขนมที่มีความสำคัญ มักใช้ในงานพิธี และวันสำคัญต่างๆ ความหมายในภาษาจีน “ฮวด” แปลว่า “เจริญงอกงาม” “โก้ย” แปลว่า “ฟู หรือ ขนม” ขนมฮวด


ขนมโค


ขนมโค เป็นขนมหาทานยากของคนไทยเป็นสูตรคิดค้นของพี่น้องภาคใต้ หน้าตาของขนมโคคล้ายกับขนมต้มต่างกันที่ขนมต้มภาคกลางจะใช้มะพร้าวผัดกับน้ำตาลปึก







ปาวหล่าง


กรรมวิธีซับซ้อน แต่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะชาวบาบ๋า-เพอรานากัน ในภาษามลายูเรียก Rampa Udang นำข้าวเหนียวนึ่งสุกผสมน้ำกะทิข้น น้ำตาล เกลือ มาห่อไส้ (ที่ทำจากกุ้งแห้ง ข่าอ่อน พริกไทยดำ มะพร้าวขูด น้ำตาลทรายขาว เกลือผัดเข้าด้วยกัน) แล้วห่อด


ขนมต้ม (ขนมสารทเดือนสิบ)


เป็นขนมไทยในงานมงคล งานบุญของชาวพุทธแต่นิยมสำหรับชาวบาบ๋าด้วย โดยเฉพาะการได้รับประทานกับชา กาแฟ เป็นข้าวเหนียวผัดด้วยกะทิ เกลือ และน้ำตาลทราย ห่อด้วยใบกระพ้อเป็นรูปสามเหลี่ยม




<