ถั่วตัด


“ขนมถั่วตัด” มีวิธีการทำโดยการเตรียม กะทะใส่ถั่วลิสง คั่วไฟอ่อน จนสุกและกรอบ ขยี้เอาเปลือกออก แกะถั่วเป็นสองซีก กะทะใส่น้ำตาลปีบ น้ำ แบะแซ ตั้งไฟอ่อน คนจนละลายเข้ากัน กวนต่อจนน้ำตาลเริ่มเหนียว ใส่งา ถั่ว กวนจนเหนียว ตักใส่ถาดเกลี่ย


โก๋หอม (เก็ตรองเตี๋ยว)


โก๋หอม หรือ เก็ตรองเตี๋ยว เป็นขนมที่มีความหวาน ที่ละลายในปาก ชื่อเรียกยาก แต่สัมผัสความอร่อย ไม่ยาก มีเอกลักษณ์ของความเหนียวนุ่ม ของแป้งสูตรต้นตำรับ ทานอร่อยยิ่งขึ้น เมื่อทานคู่กับ ชาอู่หลงร้อน ๆ



ขนมชั้น


ใส่น้ำตาลทรายและกะทิลงในหม้อ คนผสมให้เข้ากันแล้วนำขึ้นตั้งไฟปานกลางประมาณ 5 นาที จนน้ำตาลทรายละลาย (ไม่ต้องรอให้เดือด) ยกลงจากเตา พักทิ้งไว้จนเย็น นึ่งถาดหรือพิมพ์ในชุดนึ่งที่มีน้ำเดือด ประมาณ 15 นาที เตรียมไว้ ผสมแป้งข้าวเจ้า แป้


โหยวเถียว , ไป๋ถังกั่ว หรือ ปาท่องโก๋


ปาท่องโก๋แบบดั้งเดิม ปาท่องโก๋ ประกอบด้วยแป้ง ยีสต์ น้ำ เกลือ เหมือนกันกับการทำขนมปังทั่วไป นวดแป้งและหมัก เวลาทอดให้นำแป้งมาแบ่งเป็น 2 ก้อนและคลึงแป้งเป็น 2 ชิ้นประกบกันเป็นคู่ ลงใส่กระทะในน้ำมันร้อนๆ ทอดจนเนื้อแป้งเหลืองยกขึ้นจาก


อาโป้ง


อาโป้ง หรือ อาโปง (ถ้าเทียบเสียงภาษากลางคำว่าอาโปงจะใกล้เคียงกับเสียงจริงกว่า) ซึ่งเป็นขนมที่มีส่วนผสมของแป้งกับน้ำตาล ขนมชนิดนี้มาจากเกาะปีนัง ชาวปีนัง เรียก อาเปิง ขนมชนิดนี้ชาวปีนังใส่เฉพาะแป้งกับน้ำ


เหนียวหีบ


ขนมพื้นเมืองของภูเก็ต ซึ่งส่วนใหญ่ก็เป็นขนมสไตล์เปอรานากัน ก็มีหลายชนิดให้เลือกสรร มีให้ซื้อหามาอร่อยกันได้จากร้านขนมพื้นเมืองตามตลาดต่างๆ รวมถึงตามตรอกซอกซอย และร้านคาบาง


บีโกหมอย


เป็นของหวานทำจากข้าวเหนียวดำที่นำไปต้มจนเปื่อย แล้วใส่น้ำตาลทราย รับประทานโดยราดน้ำกะทิข้นๆ ที่ใส่เกลือเล็กน้อยให้พอมีรสเค็ม 

รสชาติและเสน่ห์ของบีโกหมอยอยู่ที่ ข้าวเหนียวสีดำที่สามารถเคี้ยวได้หนึบหนับ รสชาติหวานๆ มัน ๆ


อังกู่ - ขนมเต่าแดง


“อังกู่” หรือ “ขนมเต่า” อร่อยความหมายดี แป้งสีแดงพิมพ์เหมือนกระดองเต่า ใส้ถั่ว บางคนเลยเรียกหนมเต่า ใช้ในหลายโอกาสมงคล เช่นวางในจานอิ่วปึ่งตอนเด็กครบเดือน เพื่อให้เด็กว่านอนสอนง่าย หลายคนเอาไปไหว้พระ


โอ้เอ๋ว


 

 

 

 

 

 

 

เป็นวุ้นที่ทำสกัดจากเมล็ดโอ้เอ๋วผสมกับวุ้นที่ได้จากล้วยน้ำว้า กินกับน้ำหวานสีแดงและน้ำแข็งใส นิยมใส่เมล็ดถั่วแดง และ/หรือ เฉาก๊วย

 

 <


ขนมปลา


"ขนมปลาภูเก็ต" เป็นขนมอบพื้นเมืองที่นับวันจะไม่ค่อยเห็น เพราะเริ่มหมดความนิยม ไปนิยมขนมต่างชาติ ขนมปลาภูเก็ต เป็นขนมอบกรอบ มีไส้หวานทำจากถั่วเขียวบด หรือไส้ถั่วดำบด ขนมปลามีกลิ่นหอมแป้ง รสชาติหอมหวานอ่อนๆ กำลังดี นิยมทานกับชาจ


ขนมเบ่เฮจี่ หรือ ขนมสี่ขา


“เบเฮ่จี่" หรือเรียกอีกชื่อว่า ขนมสี่ขา ลักษณะคล้ายๆ ปาท่องโก๋ หรือเจี๊ยะโก้ย แต่ตัวแป้งจะถูกบิดให้เป็นเกลียวมีลักษณะเป็นสี่ขา และที่ต่างไปจากปาท่องโก๋คือ ที่ตัวแป้งจะมีเกร็ดน้ำตาล เวลาทานจะหวานๆ ในตัว ทานเปล่าๆ โรยด้วยเกร็ดน้ำตาลจ


โกสุ้ย


โกสุ้ย หรือโก่ซุ้ย เป็นขนมถ้วย ทำจากน้ำตาลแดง ตัวขนมมีสีน้ำตาล รสหวาน ลักษณะเหนียวหนึบหนับ รับประทานคู่กับมะพร้าวขูดขาวเคล้าเกลือนิดหน่อยให้พอมีรสเค็มวิธีรับประทานก็แค่นำโกสุ้ยคลุกกับมะพร้าว รสหวานจากตัวขนมและความเค็


ขนมใส้ไก่


“ไส้ไก่” ชื่อเรียกขนมกรุบกรอบเคี้ยวเพลินของคนภูเก็ต มีลักษณะและรสชาติคล้ายกับเจ้าปาท่องโก๋จิ๋วในภาคกลาง แต่ฉบับภูเก็ตจะถูกทำเป็นเส้นยาวคล้ายไส้ไก่ขดไปขดมา แล้วลงทอดในน้ำมันจนกรอบ คนภูเก็ตนิยมทาน “ขนมไส้ไก่” ในหลากหลายเมนู ไม่ว่าจะก


ขนมเทียน


ขนมไหว้เจ้าที่เรารู้จักในช่วงเทศกาลตรุษจีนและสารทจีนในเมื่อมีขนมเข่งก็ต้องมีขนมเทียน เพราะเป็นขนมที่มักจะใช้ไหว้คู่กัน ซึ่งคนจีนมีความเชื่อว่า ขนมเทียนนั้น หมายถึง ความสว่างรุ่งเรืองดังแสงเทียน วิธีการทำนำน้ำตาลปี๊บไปละลาย ใส่


จำปาด่ะทอด


เป็นขนมพื้นเมืองตามฤดูกาลของผลไม้ที่รู้จักกันคือ”จำปาด่ะ” โดยการนำมาผสมแป้งสาลี/ข้าวเจ้า แป้งทอด น้ำปูน น้ำตาล เกลือ น้ำเปล่าใส่จำปาดะลงไปตั้งกระทะใส่น้ำมันไฟปานกลาง น้ำมันร้อนดีเเล้ว ใส่จำปาดะลงทอดพอจำปาดะเป็นสีเหลืองสวยใ


ขนมลา


ขนมลา เป็นขนมหวานพื้นบ้านทางภาคใต้ของประเทศไทย ทำมาจากแป้งข้าวเจ้า เป็นขนมสำคัญหนึ่งในห้าชนิดที่ใช้สำหรับจัดหมับ เพื่อนำไปถวายพระสงฆ์ในงานประเพณีบุญสารทเดือนสิบ ซึ่งเป็นงานบุญประเพณีที่สำคัญของจังหวัดในภาคใต้ เช่น จังหวัดนครศรีธรรม


เหนียวปิ้ง


คือข้าวเหนียวใส่กะทิเอามาปิ้งไม่มีไส้ เวลารับประทานจะจิ้มน้ำตาลหรือนมเหมือนขนทครกของภูเก็ต ที่จะเป็นการใช้แป้งกับกะทิ





ต๋าวป่าวอ๊ะโก้ย หรือ ขนมหัวล้านไส้ถั่ว


"ต๋าวป่าวอ๊ะโก้ย" หรือ ขนมหัวล้าน คล้ายขนมต้ม ด้านในเป็นไส้ถั่วเขียวกวน เนื้อขนมหนึบหนับๆ เคี้ยวเพลิน หอม หวาน มัน ทานขนมต๋าวป่าวอ๊ะโก้ย กับ ชา หรือ กาแฟ






ขนมผิง


เป็นขนมที่มีการผสมกะทิกับน้ำตาลทราย คนให้ละลาย นำขึ้นตั้งไฟเคี่ยวให้เป็นยางมะตูม ยกลงพักไว้ให้อุ่น พอกะทิอุ่น ใส่ไข่แดงลงไปผสมให้เข้ากัน แล้วค่อย ๆ เติมแป้งลงไป นวดให้เข้ากันจนแป้งเนียน พักไว้ 1 คืน เอาพลาสติกถนอมอาหารคลุมไว้


เหนียวดำปิ้ง


วิธีการทำเหนียวดำปิ้งไส้เผือกโดย เทกะทิลงไปในกระทะ ตามด้วยเกลือและน้ำตาลทราย คนจนน้ำตาลละลาย ใส่เผือดนึ่งบดลงไป กวนจนน้ำกะทิซึมเข้าเผือกและจนกะทิแห้ง เสร็จแล้ววางพักไว้ตั้งกระทะใหม่ ใส่กะทิ น้ำตาล และเกลือ ใส่ข้าวเหนียวลงไป ใช้ช้อนกดข้า


ข้าวเหนี่ยวตัดหน้ากะทิ


ข้าวเหนียวตัดหน้ากะทิ วิธีทำเริ่มจากการแช่ข้าวเหนียวทิ้งไว้ประมาณ 3-4 ชั่วโมง ใส่กระชอนสะเด็ดน้ำไว้ ผสมหางกะทิ น้ำตาลทรายและเกลือเข้าด้วยกัน เทข้าวเหนียวลงไป จากนั้นเทใส่ถาด นึ่งให้สุกใช้เวลาประมาณ ครึ่งชั่วโมง การทำหน้าขนม ผสมหัวกะทิ น้


ขนมจี้โจ้


เป็นขนมที่มีทั่วประเทศเอเชีย แต่ต่างกันตรงเนื้อแป้ง และไส้ ทำจากแป้งข้าวเหนียว ผสมมันสำปะหลัง ห่อไส้ถั่วต่าง ๆ ชาวบาบ๋าภูเก็ตนิยมไส้ถั่วเขียวและถั่วดำ ปั้นเป็นก้อนกลมแล้วทอดในน้ำมันร้อน โรยงา เคล็ดลับอยู่ที่การนวดแป้งเป็นสำคัญ

<


เหนียวแก้ว


เหนียวแก้ว คือ ขนมข้าวเหนียวกวนด้วยน้ำอ้อย มีรสชาติหวาน เป็นขนมมงคล นิยมใช้ในพิธีแต่งงาน




ขนมลูกตาล หรือ ขนมตาล


วิธีการทำขนมตาล เริ่มจากละลายน้ำตาลทรายในกะทิให้เข้ากันแล้วใส่เนื้อลูกตาลลงไป คนให้เข้ากันเติมแป้งและผงฟูลงไป คนให้เข้ากันจนเนียนกรองส่วนผสม พักไว้ ประมาณ 10 นาที จนขนมขึ้นฟูใส่น้ำลงในชุดนึ่ง เรียงถ้วยตะไล เปิดไฟกลาง เตรียมไว้ตักส่


ตะโก้ หรือ ตะโก้ย (ไส้ข้าวโพด)


เป็นแป้งกวนนึ่ง ด้านล่างทำมาจากแป้งผสมข้าวโพด เนื้อนิ่มๆ คล้ายๆ ด้านบนจะเป็นกะทิสีขาว






โก้ยตาล้าม


"โก้ยตาล้าม" เป็นแป้งกวนนึ่ง ด้านล่างทำมาจากแป้งผสมใบเตยสีเขียว เนื้อนิ่มๆ คล้ายๆ ตะโก้ใบเตย ด้านบนจะเป็นกะทิสีขาว โก้ยตาล้ามเป็นชื่อเรียกตามสำเนียงของชาวจีนฮกเกี้ยนในภูเก็ต ทานง่าย นิ่มๆ




แปะถึ่งโก้ย


"แปะถึ่งโก้ย" คล้ายๆ ขนมถ้วยฟู หรือขนมน้ำตาลทรายขาว เป็นขนมที่หาทานยากแล้วค่ะ ตัวขนมสีขาวๆ เนื้อฟูๆ ด้วยหน้าจะมีสีแดงๆ





ฮวดโก้ย (ขนมถ้วยฟู)


"ฮวดโก้ย" หรือขนมถ้วยฟู เนื้อขนมทำมาจากแป้งข้าวเจ้า น้ำตาลทราย ยีสต์ ผงฟู และเติมสีผสมอาหารเพิ่มสีสัน เป็นขนมที่มีความสำคัญ มักใช้ในงานพิธี และวันสำคัญต่างๆ ความหมายในภาษาจีน “ฮวด” แปลว่า “เจริญงอกงาม” “โก้ย” แปลว่า “ฟู หรือ ขนม” ขนมฮวด


ขนมโค


ขนมโค เป็นขนมหาทานยากของคนไทยเป็นสูตรคิดค้นของพี่น้องภาคใต้ หน้าตาของขนมโคคล้ายกับขนมต้มต่างกันที่ขนมต้มภาคกลางจะใช้มะพร้าวผัดกับน้ำตาลปึก







ปาวหล่าง


กรรมวิธีซับซ้อน แต่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะชาวบาบ๋า-เพอรานากัน ในภาษามลายูเรียก Rampa Udang นำข้าวเหนียวนึ่งสุกผสมน้ำกะทิข้น น้ำตาล เกลือ มาห่อไส้ (ที่ทำจากกุ้งแห้ง ข่าอ่อน พริกไทยดำ มะพร้าวขูด น้ำตาลทรายขาว เกลือผัดเข้าด้วยกัน) แล้วห่อด


ขนมต้ม (ขนมสารทเดือนสิบ)


เป็นขนมไทยในงานมงคล งานบุญของชาวพุทธแต่นิยมสำหรับชาวบาบ๋าด้วย โดยเฉพาะการได้รับประทานกับชา กาแฟ เป็นข้าวเหนียวผัดด้วยกะทิ เกลือ และน้ำตาลทราย ห่อด้วยใบกระพ้อเป็นรูปสามเหลี่ยม




<