ลานหินวัดเขาดีสลัก


ลักษณะเด่น วัดเขาดีสลักเป็นวัดที่อยู่ทางด้านเหนือสุดของโครงการไหว้พระแหล่งอารยธรรม 5 ขุนเขาเป็นลานหินที่มีลักษณะยื่นออกไปเป็นชะง่อนผา มีพระอุโบสถ ตั้งอยู่บริเวณส่วนปลายของลานหิน แสดงให้เห็นล

ลานหินวัดเขาพระ


บริเวณลานหินเป็นหินปูนที่มีเนื้อดินแทรกสลับ สีเทาอมดำ สีดำและมีเนื้อดิน เป็นหินตะกอนที่มีการตกสะสมตัวในทะเลเมื่อประมาณ 480-440 ล้านปีมาแล้ว ต่อมีการยกตัวของแผ่นดินหรือระดับน้ าทะเลลดลง เกิ

ลานหินวัดเขาถ้ำเสือ


ลานหินวัดเขาถ้ำเสือเป็นหินปูนที่มีเนื้อดินแทรกสลับ สีเทาอมดําสีดํา เป็นหินตะกอนที่เกิดจากการตกสะสมตัวในทะเลเมื่อประมาณ 510-438 ล้านปีก่อนการเกิดลานหินวัดเขาถ้ําเสือเมื่อประมาณ 510-438 ล้

กระเบื้องมุงหลังคาแบบลอน


กระเบื้องมุงหลังคาแบบลอน พบในบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง กระเบื้องดินเผาทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าโค้งงอเล็กน้อย ขนาดกว้างประมาณ ๗ เซนติเมตร ยาวประมา

พระพุทธรูปหิน


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง



ชิ้นส่วนดินเผารูปสิงห์


ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอ

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง



เศียรพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร


ศิลปะศรีวิชัย สมัยประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 - 15 (หรือราว 1,100 - 1,200 ปีมาแล้ว) ทำจากสำริดพระพักตร์ค่อนข้างกลม พระเนตรเหลือบต่ำ พระกรรณยาว ทรงชฎามงกุฎคือพระเกศาเกล้าเป็นมวยสูง แสดงความเป็นนักบวช มีพระพุทธเจ้าอมิตาภะประดิษฐา

ต้นโพธิ์ดินเผา


ต้นโพธิ์บนฐานบัวคว่ำบัวหงายมีลายกลีบบัว ลำต้นมีลวดลายเม็ดประคำคาดประดับ ทำเป็นกิ่งและมีใบโพธิ์ห้อย

ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสด

ธรรมจักรและกวางหมอบ


ธรรมจักรและกวางหมอบเป็นสัญลักษณ์สำคัญทางพุทธศาสนา หมายถึงการแสดงปฐมเทศนาหรือการประกาศพระธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการหมุนกงล้อมแห่งธรรมให้เคลื่อไปในวัฒนธรรมทวาราวดีนิยมสร้างธรรมจักร และกวางหมอบ ส่วนหัวกวาง มีหู เข

ประติมากรรมดินเผารูปคชลักษมี


คชลักษมีเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึงความมีโชคลาภและความอุดมสมบูรณ์ มีที่มาจากคติการบูชาเพศหญิงซึ่งเป็นเพศผู้ให้กำเนิด ส่วนช้างเป็นสัตว์มงคลและเป็นสัญลักษณ์ของเมฆฝน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้พืชพันธุ์เจริญงอกงาม คชลักษมีจึงเป็นสัญลักษณ์มงคลที

แผ่นดินอิฐจำหลักรูปมกร


แผ่นอิฐจำหลักรูปมกร พบจากเจดีย์หมายเลข ๓ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง แผ่นอิฐรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง ๑๖ เซนติเมตร ยาว ๒๒ เซนติเมตร หนา ๗.๕ เซนติเมตร ด้านห

พระพุทธรูปยืนตริภังค์ปางแสดงธรรม


พระพุทธรูปยืนตริภังค์ปางแสดงธรรม พบจากเจดีย์หมายเลข ๓ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง พระพุทธรูปยืนปางแสดงธรรม อุษณีษะเป็นกะเปาะสูง เม็ดพระศกใหญ่ พระพักตร์รูปไข่ พร

ยอดเจดีย์จำลองสำริด


ยอดเจดีย์จำลอง ทำด้วยสำริด จำนวน ๒ ชิ้น พบจากเจดีย์หมายเลข ๑๓ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ยอดเจดีย์จำลอง ชิ้นที่ ๑ ประกอบด้วยปลียอดทรงกรวย ตกแต่งด้วยลวดบัวเป็นสัน

แผ่นดินอิฐประทับรูปรอยเท้าคน


แผ่นอิฐมีรอยประทับรูปฝ่าเท้าของคน สมัยทวารวดี จัดแสดง ณ อาคารจัดแสดง ๒ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง

แผ่นอิฐทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า เนื้ออิฐมีรูพรุน เห็นร่องรอยแกลบข้าวในเนื้ออิฐอย่างชัดเจน บนผิวหน้าอิฐมีรอยประทับรูปฝ่าเท้าด้านขว

เศียรพระพุทธรูปดินเผา


ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอ

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง


พระพิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางแสดงธรรม


พระพิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางแสดงธรรม จำนวน ๒ ชิ้น พบจากเจดีย์หมายเลข ๒๑ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง พระพิมพ์ดินเผา ชิ้นที่ ๑ กว้าง ๖.๕ เซนติเมตร ยาว ๖.๗ เซนต

ตุ้มหูทองคำ


ตุ้มหูทองคำ พบบริเวณริมสระน้ำภายในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ จัดแสดงห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตุ้มหู มีลักษณะเป็นห่วงกลม ส่วนบนเรียวเล็ก ส่วนล่างใหญ่และหนา สา

แม่พิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางสมาธิ


แม่พิมพ์ดินเผาภาพพระพุทธรูปปางสมาธิแวดล้อมด้วยเครื่องสูง สมัยทวารวดีจัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทองแม่พิมพ์ดินเผา ขนาดกว้าง ๙ เซนติเมตร สูงประมาณ ๑๑ เซนติเมตร เป็นภาพพระพุทธรูปปางสมาธิที่เว้าลึกลงไป สำหรับสร้าง

ประติมากรรมดินเผารูปสิงห์


ประติมากรรมประดับฝาภาชนะสมัยทวารวดี ประติมากรรมดินเผารูปสิงห์ ขนาดกว้าง ๘ เซนติเมตร สูง ๘.๓ เซนติเมตร สิงห์มีใบหน้ากลม มีคิ้วเป็นสันนูนต่อกันคล้ายปีกกา ดวงตากลมโต จมูกใหญ่ อ้าปากแยกเขี้ยวยิงฟัน มีแผงคอเป็นเม็ดกลมเรียงกันเป็นรูปสามเหลี่

แม่พิมพ์เครื่องประดับสมัยทวารวดี


แม่พิมพ์เครื่องประดับ พบบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง จัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง แม่พิมพ์ เป็นแผ่นหินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มุมล่างซ้ายชำรุดหักหายไป บนผิวหน้าแกะลึกลงไปในเนื้อหินเป็นรูปตุ้มหูแบบห่วงกลม ๒ พิมพ์ เรีย

พระพุทธรูปสำริดปางแสดงธรรม


พระพุทธรูปสำริดปางแสดงธรรม พบจากโบราณสถานหมายเลข ๑๔ (บ้านศรีสรรเพชญ์ ๓) เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ อาคารจัดแสดง ๒ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง พระพุทธรูปนั่ง หน้าตักกว้าง ๑๕ เซนติเมตร สูง ๒๒ เซนติเมตร พระรัศมีเป็

ตะคันดินเผา


ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง


เครื่องมือเครื่องใช้


ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง


อิฐฤกษ์


อิฐมีเนื้อละเอียด มีการขัดผิวบริเวณด้านหน้าและด้านข้างทำให้ผิวเรียบ ด้านหลังมีผิวหยาบปรากฏร่องรอยแกลบข้าวในเนื้ออิฐ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของอิฐในสมัยทวารวดี ด้านหน้าของแผ่นอิฐปิดทองคำเปลวเป็นแถบรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีบางส่วนชำรุดหลุดร่อนออกเ