ศีรษะบุคคลต่างชาติ


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 13 หรือราว 1,300 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะศรีษะบุคคลต่างชาติทำด้วยปูน หันด้านข้างสวมหมวกทรงกรวยแหลม ลักษณะคล้ายหมวกของชาวอาหรับ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นรูปของพ่อค้าที่เดินทางมาค้าขายระหว่างตะวันออกกลางกับดิ

ตุ๊กตาดินเผารูปคนจูงลิง


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 14 หรือราว 1,200 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะตุ๊กตาดินเผารูปคนยืนตรง ด้านหน้ามีลิง 1 ตัว นั่งเกาะขา มือซ้ายของบุคคลดังกล่าวถือกิ่งไม้แนบกับต้นขา ส่วนมือขวาถือปลายเชือกผูกล่ามคอลิงเอาไว้ สวมเครื่องประดับที่ค

พระพิมพ์ดินเผาปางสมาธิ


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 หรือราว 1,200 – 1,300 ปีมาแล้ว ลักษณะพระพิมพ์ดินเผาปางสมาธิเป็นแผ่นพระพิมพ์ปางสมาธิ ประทับนั่งขับสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งคู่วางซ้อนขวาทับซ้ายบนพระเพลา ครองจีวรห่มเฉียง ปรากฎชายผ้าด้านหน้าพระเพลา พระพุ

ธรรมจักรยุคแรกที่สมบูรณ์ที่สุดในเมืองไทย


 

 

 

ธรรมจักรมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 91 เซนติเมตร สูง 130 เซนติเมตร ขนาดกว้าง 48 เซนติเมตร ความยาว 50 เซนติเมตร สูง 38 เซนติเมตร เสามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร สูง 280 เซนติเมตร เป็นศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่

จารึกแผ่นทองแดง


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 – 14 หรือราว 1,200 – 1,300 ปีมาแล้ว ลักษณะจารึกแผ่นทองแดงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีอักษรจารึกหกบรรทัดเป็นอักษรปัลลวะ

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง


ตราประทับดินเผา


ตราดินเผารูปสัญลักษณ์ทางศาสนาประกอบอักษรโบราณ พบที่เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตราดินเผา คือ โบราณวัตถุที่มีรูปรอยนูนขึ้นจากพื้นผิวในลักษณะนูนต่ำ เป็นรอยถูกประทั

เศียรพระพุทธรุปทองคำ


พบจากการขุดแต่งเจดีย์หมายเลข ๒ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีจัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทองพระเศียรพระพุทธรูป สูงประมาณ ๕ เซนติเมตร พระพักตร์ค่อนข้างกลม พระขนงต่อกันเป็นปีกกา พระเนตรปิด พระกรรณยาว

เครื่องประดับทองคำลูกปัด


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หรือราว 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะเครื่องประดับทองคำลูกปัดเป็นทองคำขนาดเล็กรูปทรงกลมพร้อมจี้ทองคำฝังพลอย ตัวจี้เป็นรูปวงกลมมีรัศมีโดยรอบขอบทำเป็นเม็ดลายไข่ปลา ตรงกลางมีพลอยสีขาวประดับ ลูกปัดที่พบมีทั้งทำจากหิ

ประติมากรรมสำริดรุูปสิงห์


ศิลปะทวารวดีกำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ (ประมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปีมาแล้ว) ปัจจุบันจัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ประติมากรรมสำริดรูปสิงห์ ชิ้นนี้ พบจากเจดีย์หมายเลข ๑๓ เมืองโบราณอู่ทอง เป็นประติมากรรมขนาดเล็

พระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ


ประติมากรรมสำริดรูปพระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ หรือพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรสูงประมาณ ๒๓.๕ เซนติเมตร เกล้าพระเกศาทรงสูงทรงชฎามงกุฎ มีพระพุทธรูปนั่งปางสมาธิ ซึ่งหมายถึง พระธยานิพุทธเจ้าอมิตาภะ ประทับอยู่ที่ด้านหน้ามวยผม พระหัตถ์ขวาทรงถืออักษมาลา (ล

แผ่นดินเผาภาพกินรี


เป็นศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 10 – 12 หรือราว 1,400 – 1,600 ปีมาแล้ว ลักษณะแผ่นดินเผาภาพกินรีสวมเครื่องประดับศรีษะอยู่ในท่าเคลื่อนไหว ยกมือขวาและขาซ้ายขึ้นไปด้านหลัง เนื่องจากแผ่นภาพชิ้นนี้ค่อนข้างลบเลือนและบางส่วนแตกชำรุดไป จึงไม่ส

ปูนปั้นพระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 14 หรือราว 1,200 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะปูนปั้นพระพุทธรูปยืนยกพระหัตถ์ทั้งสองข้างขึ้นในท่าแสดงธรรม โดยพระอังคุตนิ้วหิวแม่มือและนิ้วชี้จรดกันเป็นวงกลมปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ ซึ่งหมายถึงเหตุกา

แผ่นดินเผารูปเทวดาเหาะ


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 13 หรือราว1,300 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะแผ่นดินเผารูปเทวดาเหาะเป็นแผ่นดินเผาทำเป็นภาพนูนต่ำรูปบุคคลเอียงตัวทำท่าเหาะ ยกแขนและขาข้างขวาไปด้านหลัง ขาซ้ายยื่นไปทางด้านหน้า สวมเครื่องประดับศรีษะที่แสดงถึงค

ชิ้นส่วนปูนปั้นภาพพระพุทธรูปนาคปรก


ชิ้นส่วนปูนปั้นศิลปะอินเดียแบบอมราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 – 10 หรือราว 1,600 – 1,700 ปี ลักษณะชิ้นส่วนปูนปั้นภาพพระพุทธรูปนาคปรกชำรุดเหลือเฉพาะส่วนฐาน เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับขัดสมาธิไขว้พระบาทหลวมๆ แสดงถึงศิลปะอมราวดีของอินเดีย พระหัตถ

แผ่นดินเผาภาพพระภิกษุอุ้มบาตร


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 13 หรือราว1,300 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะแผ่นดินเผารูปเทวดาเหาะเป็นแผ่นดินเผาทำเป็นภาพนูนต่ำรูปบุคคลเอียงตัวทำท่าเหาะ ยกแขนและขาข้างขวาไปด้านหลัง ขาซ้ายยื่นไปทางด้านหน้า สวมเครื่องประดับศรีษะที

เจดีย์โบราณหมายเลข9


เจดีย์หมายเลข 9 เป็นเนินสูงประมาณ 2 เมตร กว้างด้านละ 15 เมตร ได้รับการขุดแต่ง จากกรมศิลปากรแล้วเมื่อปี พ.ศ. 2506 โดยลากหินปกคลุมฐานทั้ง 4 ด้านออก และได้ทำการขุดแต่งใหม่ในปี พ.ศ. 2507 โดยการซ่อมฐานตอนบนให้อยู่ในสภาพที่มั่นคง ลักษณะของ

เจดีย์โบราณหมายเลข 3


เจดีย์หมายเลข 3 เป็นกองอิฐขนาดใหญ่เนินสูง 5 เมตร กว้างด้านละ 20 เมตร ฐานกว้างด้านละ 16.60 เมตร เจดีย์หมายเลข 3 มีการขุดแต่งเมื่อปี พ.ศ. 2506 มีร่องรอยของกระเบื้อง ที่แตกหักมาจากภาชนะดินเผาไปทั่วผิวดิน ในบริเวณใกล้

เจดีย์โบราณหมายเลข2


เจดีย์หมายเลข 2 เป็นเนินสูงประมาณ 8 เมตร กว้างด้านละ 40 เมตร กลางเนินถูกลักลอบขุดเป็นหลุมใหญ่จนถึงระดับพื้นดินเดิม ฐานล่างเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 28.35 เมตร สูงประมาณ 1 เมตร ก่ออิฐย่อมุมทั้ง ด้า ฐานชั้นในก

แหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยาสวนหินพุหางนาค


แหล่งเรียนรู้ธรณีวิทยาสวนหินพุหางนาค จัดเป็นนิทรรศการถาวร มีอาคารแสดงนิทรรศการถาวรที่เกี่ยวกับอุทยานธรณีและธรณีประวัติสวนหินพุหางนาค 

ตั้งอยู่ในบริเวณทางเข้าสวนหินพุหางนาค




ถ้ำหลวงพ่อปู่ใหญ่


ถ้ำหลวงปู่ใหญ่เป็นถ้ำมีโพรงเปิดให้แสงแดดสาดส่องลงมา หลวงปู่ใหญ่เป็นพระปางไสยาศน์ เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่พุหางนาค ที่ประดิษฐานอยู่ในถ้ำหลวงปูใหญ่ ถ้ำมีหลักฐานการค้นพบมาตั้งแต่สมัยทวารวดี ก่อนมาเปิดเป็นศาสนสถานในปี พ.ศ. 2513
<

สำนักสงฆ์พุหางนาค


เป็นสำนักสงฆ์ที่ตั้งอยู้ในสวนหินพุหางนาค มีพระจำพรรษาอยู่ไม่มากนัก ในเกือบทุกวันช่วงบ่ายจนถึงหัวค่ำจะมีคนที่ต้องการปฏิบัติธรรมขึ้นมาศึกษาธรรมะ นั่งสมาธิ รวมถึงการวิปัสสนากรรมฐาน เพราะที่สำนักสงฆ์ตั้งอยู่ในสวนหินพุหางนาค มีความเงียบ

สวนหินพุหางนาค


สวนหินพุหางนาค มรดกทางธรรมชาติชิ้นเอกของเมืองอู่ทอง ที่มีอายุกว่าล้านปีเป็นสถานที่เที่ยวที่มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติให้นักท่องเที่ยวได้เดินชมหินรูปร่างแปลกตาตามจินตนาการของผู้พบเห็น มีพันธุ์ไม้อนุรักษ์โบราณหายาก เช่น ต้นจ

วนอุทยานพุม่วง


วนอุทยานพุม่วง เป็นแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติที่สำคัญของอำเภออู่ทอง เป็นผืนป่าเบญจพรรณที่มีเนื้อที่กว่า 1,725 ไร่ เป็นวนอุทยานที่ยังคงรักษาผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์รวมไปถึงพันธุ์ไม้หายาก ที่พบในพื้นที่ เช่น กระเชา ตะโก พุด โมกมัน มะกอกป่า

พระใหญ่แกะสลักหน้าผา พระปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิ


พระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาหิน มีชื่อว่าพระพุทธปุษยคีรีศรีสุวรรณภูมิหรือหลวงพ่ออู่ทององค์หลวงพ่ออู่ทองมีความสูง108 เมตร ฐานกว้าง 88 เมตร และหน้าตักกว้าง65 เมตร เป็นพระพุทธรูปแกะสลักหน้าผาใหญ่ที่สุดในโลก พระแกะสลักหน้าผาใหญ่องค์นี้