มะขาม


มะขาม ชื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica L. จัดอยู่ในวงศ์ถั่ว (FABACEAE หรือ LEGUMINOSAE) และอยู่ในวงศ์ย่อยราชพฤกษ์ (CAESALPINIOIDEAE หรือ CAESALPINIACEAE)ประโยชน์ของมะขามและสรรพคุณมะขามนั้นมีมากมาย จัดว่าเป็นผลไม้เพื่อสุขภา


ผักกูด


ผักกูด ชื่อวิทยาศาสตร์ Diplazium esculentum (Retz.) Sw. (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Athyrium esculentum (Retz.) Copel.) จัดอยู่ในวงศ์ ATHYRIACEAE ผักกูดหรือกูดกิน ความจริงแล้วผักกูดไม่ได้เป็นพืชผัก แต่เป็นพืชที่เป็นเฟิร์นชนิดหนึ่


ต้นปลายตายเป็น หรือสังวาลพระอินทร์


สังวาลพระอินทร์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cassytha filiformis L. จัดอยู่ในวงศ์อบเชย (LAURACEAEเป็นพรรณไม้เถาเลื้อยกึ่งกาฝาก ลักษณะคล้ายต้นฝอยทอง ลำต้นเลื้อยพาดพันกับต้นไม้อื่น ยอดอ่อนของเถามีขนนุ่ม ๆ สีเหลืองขึ้นปกคลุมอยู่ ลักษณะของลำต้นหรื


บุก


บุก ชื่อวิทยาศาสตร์ Amorphophallus konjac K.Koch (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Amorphophallus rivieri Durand ex Carrière) จัดอยู่ในวงศ์บอน (ARACEAE)

เป็นพรรณไม้ล้มลุกที่มีอายุหลาย ลำต้นแทงขึ้นมาจากหัวใต้ดิน มีความสูงของต้


ตีนเป็ดทะเล


ตีนเป็ดน้ำ ชื่อวิทยาศาสตร์ Cerbera odollam Gaertn.  จัดอยู่ในวงศ์ตีนเป็ด (APOCYNACEAE) พบได้เฉพาะทางภาคใต้ โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก ทรงร่ม เรือนยอดเป็นทรงกลมทึบ มีความสูงของต้นประมาณ 5-15 เมตร ลำต้นแตกกิ่งต่


ต้นปด หรือ รสสุคนธ์


รสสุคนธ์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Tetracera loureiri (Finet & Gagnep.) Pierre ex W. G. Craib (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Tetracera sarmentosa var. loureiri Finet & Gagnep.) จัดอยู่ในวงศ์ส้าน (DILLENIACEAE)

ป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง มีเนื้


หยีน้ำ


หยีน้ำ Pongamia pinnata (L.) Pierre

ชื่อพ้อง : Millettia pirnata (L.) Panigrahi

วงศ์ : FABACEAE

ชื่ออื่น : กายี, ราโยด (ใต้); ปากี้ (มลายู-สงขลา); หยีทะเล

เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก-กลาง สูง 5-15 เมตร เรื


ต้นหว้าหิน


หว้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Syzygium cumini (L.) Skeels (ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Caryophyllus jambos Stokes, Eugenia cumini (L.) Druce) จัดอยู่ในวงศ์ชมพู่ (MYRTACEAE) ต้นหว้าจัดเป็นพันธุ์ไม้ยืนต้นชนิดหนึ่ง

ลูกหว้า เป็นผลไม


หญ้าสามคม


หญ้าสามคม  (Scleria levis Retz.) จัดอยู่ในวงศ์กก (CYPERACEAE)

มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า หญ้าคมบาง (ตราด), หญ้าพุงเม่น (ชัยภูมิ), คมปาว (ยโสธร) ส่วนอุดรธานีเรียก "หญ้าสามคม" เป็นต้น

ลักษณะของหญ


ทองอุไร


(อังกฤษ: Yellow elder, Trumpetbush, Trumpetflower, Yellow trumpet-flower, Yellow trumpetbush; ชื่อวิทยาศาสตร์: Tecoma stans (L.) Juss. ex Kunth) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กสูง 2-4 เมตร ลำต้นเล็ก แผ่กิ่งด้านบนเป็นพุ่มกลม โปร่ง ใบประก


มอสข้าวตอกฤาษี


มอสข้าวตอกฤาษี หรือ Sphagnum moss ได้ชื่อว่าเป็นฟองน้ำมีชีวิต เนื่องจากมีโครงสร้างพิเศษที่ช่วยให้ข้าวตอกฤาษีสามารถเก็บน้ำไว้ได้จำนวนมาก นั่นคือ ช่องว่างที่เรียงกันอยู่จำนวนมากภายในเซลล์ แต่ละช่องว่างจะมีลักษณะคล้ายลูกโป่งที่มีช่องเปิด 1


หอยติบ


หอยติบ หรือ หอยนางรมพันธุ์เล็ก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Crassotrea commer cialis เป็นหอยสองฝาพวกหอยนางรมอยู่ในวงศ์ Ostreidae พบเกาะอยู่ตามโขดหิน รากโกงกาง หรือวัตถุทุกชนิดที่อยู่ในระดับน้ำท่วมถึง หาดที่พบมา


ลิ่นทะเล


ลิ่นทะเล มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Tonicella lineata ถูกจัดเป็นมอลลัสคาจำพวกหนึ่ง มีลักษณะที่แปลกไปจากมอลลัสคาชั้นอื่น ๆ ด้วยว่าตัวของมันนั้นแทนที่จะมีเปลือกหรือฝา แต่มันกลับมีส่วนที่เป็นของแข็งจำนวน 7-8 ชิ้น ยึดไว้ด้วยกันที่ด้านห


เม่นทะเล


ชื่อวงศ์ (Family) : Diadematidae

ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Diadema setosum (Leske, 1778)

ชื่อภาษาอังกฤษ (English name) : long spine sea urchin

ชื่อภาษาไทย (Common name) : เม่นดำหนามยาว

เม่


หอยทากลิมเพท


ปี 2015 ศาสตราจารย์ อาซา บาร์เบอร์ (Asa Barber) นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยพอร์ทสมัธ พบ “ฟันของหอยทากลิมเพท” (Limpet’s Teeth) หรือภาษาไทยชื่อว่า “หอยหมวกเจ๊ก”

ชื่อวิทยาศาสตร์ Patella Vulgata เป็นหอยทากทะเลที่มีเปลือกคล้ายหมวกทรงกรวย อ


หอยขมทะเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ Filopaludina martensi ลักษณะของหอยขม เป็นหอยน้ำจืดขนาดเล็ก มีเปลือกเป็นเกลียวกลมยอดแหลม เปลือกหนาและแข็ง ผิวชั้นนอกเป็นสีเขียวแก่ ฝาปิดเปลือกเป็นแผ่นกลม ตีนใหญ่ จะงอยปากสั้นทู่ ตามีสีดำอยู่ตรงกลางระหว่างโคนหนวด ตัวผู้


หอยน้ำพริก


หอยน้ำพริก (Nerita albicilla) เป็นหอยฝาเดียวขนาดเล็ก มีเปลือกค่อนข้างกลม มีสีสันสวยงาม พบได้ทั่วไปตามชายฝั่งที่เป็นเขตน้ำขึ้นน้ำลง บริเวณป่าชายเลน และชายหาดบริเวณโขดหิน มักจะเกาะอยู่ตามโขดหิน พื้นทราย ปีนอยู่บนต้นไม้ เกาะอยู


ผึ้ง


ชื่อสามัญภาษาไทยผึ้ง

ชื่อสามัญภาษาอังกฤษSIAMESE GYRINOCHELLID

ชื่อวิทยาศาสตร์ Gyrinocheilus anymonier

ลักษณะของผึ้ง ลำตัวยาวเรียว ว่ายน้ำได้รวดเร็วมีความคล่องตัวสูง อยู่รวมกันเป็นฝูง ริมฝีปากเปลี่ยนแปลงเป


เฟิร์นใบมะขาม


เฟิร์น หรือ เฟิน (อังกฤษ: fern) เป็นพืชที่มีท่อลำเลียงที่ไม่มีเมล็ด และมีใบที่แท้จริง ส่วนระบบสืบพันธุ์ไม่มีดอกและเมล็ด มีวงจรชีวิตแบบสลับที่มีระยะสปอร์ (spore) และระยะสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้และเมีย จากการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเ


ผีเสื้อยักษ์


ผีเสื้อหนอนใบกระท้อน หรือ ผีเสื้อยักษ์ เป็นแที่มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Attacus atlas อยู่ในวงศ์ Saturniidae จัดเป็นผีเสื้อกลางคืนชนิดหนึ่งที่มีขนาดใหญ่ ระยะที่เป็นตัวหนอนกินใบกระท้อน, ฝรั่ง, ขนุน และใบดาหลา ตัวเมียวางไข่บนใบพืชอาหาร ลั


แมงมุมไหมทอง


แมงมุมไหมทอง หรือ ใยทอง (Nephila maculata) จัดเป็นสิ่งมีชีวิตพวกสัตว์ขาปล้อง หรืออาร์โธพอด เช่น เดียวกับแมลง, กิ้งกือ, ปู เป็นต้น จัดอยู่ในอันดับ Araneae (/อา-รัค-เน/) มีรูปทรง ลักษณะ และขนาดแตกต่างหลากหลายกันออกไป บางชนิดมี


ลิงแสม


ลิงแสม เป็นลิงชนิดหนึ่ง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Macaca fascicularis จัดอยู่ในวงศ์ลิงโลกเก่า (Cercopithecidae) เป็นลิงขนาดกลาง มีขนตามลำตัวสีน้ำตาล หางยาวกว่าความยาวของลำตัว ขนตรงกลางหัวมีลักษณะตั้งแหลมชี้ขึ้น ขนใต้ท้องสีขาว โดยสีขนจ


ปลาช่อนทะเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lutjanus malabaricus (Bloch & Schneider, 1801)

ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ : Malabar snapper

ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลากะพงแดง, ปลาหางแดง

ชื่อท้องถิ่น : กะพงแดง, หางแดง, พงแดง

ชื่อสามัญภาษาม


ปลาเก๋า


ปลาเก๋าเสือ หรือ ปลากะรังลายน้ำตาล (อังกฤษ: Brown-marbled grouper, Tiger grouper; ชื่อวิทยาศาสตร์: Epinephelus fuscoguttatus)

เป็นปลาทะเลขนาดใหญ่ชนิดหนึ่ง ในวงศ์ปลากะรัง (Serranidae) มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลากะร


สาหร่ายผมนาง


มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gracilaria fisheri

มีรูปร่างลักษณะของสาหร่ายที่เหมือนเส้นผมของผู้หญิง และมีลักษณะคล้ายสาหร่ายเขากวางมากที่สุด จัดเป็นสาหร่ายสีแดงสกุลกราซิลาเรียอยู่ในดิวิชันโรโดไปต้า คลาสโรโดไปซี มีอย


ตัวอ่อนของผึ้งป่า


ไข่ที่ผึ้งนางพญาวางออกมาจะมีลักษณะสีขาวยาวปลายมนทั้ง 2 ข้าง ไข่จะถูกวางตั้งขึ้นมาจากก้นหลอดรวง เมื่อไข่อายุได้ 3 วัน ก็จะฟักออกมาเป็นตัวอ่อน ตัวอ่อนจะมีสีขาวลอยอยู่ในอาหารที่ผึ้งพยายามเอามาป้อนให้ ตัวอ่อนจะนอนขดอยู่ที่ก้นหลอดร


ปาด


ปาดบ้าน (ชื่อวิทยาศาสตร์: Polypedates leucomystax) เป็นปาดชนิดหนึ่ง จัดอยู่ในวงศ์ปาดโลกเก่า (Rhacophoridae)

มีความสามารถปรับเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยทั้งขาว, เหลือง, เทา, ชมพู, น้ำตาล จนถึงน้ำต


พันธุ์ปลาที่ค้นพบในพื้นที่ท่าดินแดง






ปลาตะมะ


ปลาตะมะ วงศ์ Lethrinidae

ถิ่นที่อยู่อาศัย มีการแพร่กระจายทั่วไปบริเวณอ่าวไทยและอันดามัน รูปร่างคล้ายคลึงปลากะพงมาก ที่แตกต่างก็คือปลาหมูสีมีจะงอยปากที่ยาวและแหลมกว่า มีเกล็ดขนาคเล็กที่แก้มอันหลังและลำตัว ลำตัวป้


ปลาสาก


ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลาสากดำ

ชื่อท้องถิ่น : สากดำ, น้ำดอกไม้, ปลาซัวกุน, ปากแหลมตัวยาว จะงอยปากยาว มุมปากอยู่ใต้ขอบหน้าของนัยน์ตา ครีบหลังแยกห่างออกจากกันเป็น 2 ครีบ ครีบหลังอันแรกมีจุดเริ่มอยู่หลังจุดเริ่มต้นข


ปลาเก๋าลิง


ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลากะรัง

ชื่อท้องถิ่น : กะรัง, เก๋า, เก๋าปากแม่น้ำ

ลักษณะเด่น : รูปร่างยาว ล้าตัวใหญ่และแข็งแรง ปากกว้างยืดและหดได้ ครีบต่าง ๆ มีปลายมนครีบอกและครีบหางกลม ตลอดลำตัวและครีบมีจุดกลมสีส้มหรือน้ำ


ปลาข้างไฝ หรือ กะพงเหลืองข้างปาน


ชื่อสามัญภาษาไทย  ปลากะพงเหลืองข้างปาน

ชื่อท้องถิ่น : กะพงเหลืองข้างปาน, เหลืองพง, ขมิ้น

ลักษณะเด่น : มีฟัน บนลิ้นและบนเพดาน ปาก เกล็ดค่อนข้างใหญ่ ครีบหางเว้าน้อย พื้นลำตัวด้านบนเป็นสีเหลืองเข้ม ด้า


ปลามงแซ่


ชื่อสามัญ ภาษาไทย ปลามงแซ่

ลักษณะของปลามงแซ่ เป็นปลาทะเลซึ่งมีรูปร่างป้อมสั้น ลำตัวแบนข้าง หัวโต หน้าสั้น สันหัวโค้งนูน นัยน์ตาโต ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อย คอดหางเล็กและสั้นมาก ครีบหลังมี 2 อัน อันแรกมีขนาด


ปลาหมึกกระดอง


ชื่อสามัญภาษาไทย: หมึกกระดอง

ลักษณะเด่น: หมึกกระดอง นั นมีรูปร่างคล้ายกับหมึกกล้วย แต่มีรูปร่างที่กลมป้อมกว่า อันเป็นสิ่งที่แตกต่างออกไปอย่างเห็นได้ชัดเจน ภายในเป็นแผ่นหินปูนรูปกระสวยสอดอยู่กลางหลังเรียกว่าลินทะเล

ปลาทูแขก


ชื่อสามัญภาษาไทย: ปลาทูแขกครีบยาว

ลักษณะเด่น: รูปร่างเพรียวยาว ล้าตัวค่อนข้างกลม หัวยาวเรียว นัยน์ตาโตโคนหางมีเกล็ดเป็นสันแข็ง ครีบหลังมี 2 อัน แยกห่างจากกัน อันแรกเป็นรูปสามเหลี่ยมอันที่สอง

ตามแนวลำตัวครีบท้อง


ปลาสีกุนครีบยาว


ชื่อสามัญภาษาไทย : สีกุนข้างเหลือง

ชื่อท้องถิ่น : สีกุนข้างลวด ข้างลวด ข้างเหลือง กิมสัว กิมซัว กิมสั่ว

ลักษณะเด่น : มีรูปร่างยาวรี ลำตัวแบนเล็กน้อย ปากเล็ก เกร็ดเล็ก ครีบต่าง ๆ มีลักษณะบอบบาง ครีบอกยาวปลายแหลมคล


ปลาหางแข็งบั้ง


ชื่อสามัญภาษาไทย : ปลาหางแข็ง

ชื่อท้องถิ่น : หางแข็ง, ข้างลาย, ข้างลวด, เซ็กลา, สีกุน

ลักษณะเด่น : ลำตัวยาว แบนข้าง หัวโต จะงอยปากยาวและแหลม นัยน์ตาโตมีเยื่อไขมันหุ้มอยู่

ปากกว้างและเฉียงขึ้นเล็กน้อยมีฟันเล็ก


ปลาลังใหญ่


ปลาลัง, ปลาทูลัง หรือ ปลาทูโม่ง มีลักษณะทั่วไปคล้ายกับปลาทูชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน จนชาวประมงพื้นบ้านเคยเชื่อว่าปลาลังเป็นปลาทูตัวผู้ แต่ปัจจุบันได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นปลาคนละชนิดกัน ความแตกต่างระหว่างปลาลังกับปลาทูชนิด


หมึกกล้วย


ชื่อสามัญภาษาไทย : หมึกกล้วย

ชื่อท้องถิ่น : หมึกกล้วย, หมึกหลอด

ลักษณะเด่น : ลำตัวเป็นหลอดป้อม สั้น ครีบเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนและยาวมากกว่าร้อยละ 50 ของความยาวลำตัว กระดองเป็นแผ่นใสคล้ายพลาสติก


หอยวงเดือน


หอยกระจก ชุมชนท่าดินแดงเรียกหอยชนิดนี้ว่า “หอยวงเดือน” (อังกฤษ: Windowpane shell; ชื่อวิทยาศาสตร์: Placuna placenta) หรือหอยกระจกหน้าต่าง, หอยกะซ้า