ขั้นตอนที่ 2


นำสีผงผสมกับน้ำ หลังจากนั้นทำการเกลี่ยสี คือ จะนำน้ำผสมกับเนื้อสี และ คนให้เป็นเนื้อครีม โดยน้ำต้องไม่เยอะจนเกินไป เพราะถ้าน้ำเยอะเกินไปจะทำให้สีไหลออก แต่ถ้าลงสีโดยไม่มีน้ำเลยก็จะทำให้สีหนืด และ ลงสีไม่ได้ ถ้ารู้สึกว่าสีในพู่กันเริ่มน้อยก็ค่อยๆปาดสี

ขั้นตอนที่ 3


วิธีการลงสีจะลงตามซอกให้ใช้เป็นการจิ้ม และ ลากเล็กน้อย ห้ามปาด เพราะจะทำให้สีทับเส้น แต่ถ้าทับเส้นสามารถรอให้แห้ง และ ขูดออกได้ และ ค่อยเริ่มลงสีใหม่ ในขณะที่ลงสีอย่านำมือมาจับตรงลายเส้นเพราะจะทำให้เวลาเผาออกมาแล้วทองไม่วาว ไม่เด้ง

ขั้นตอนที่4


นำเข้าเตาอบที่อุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส โดยใช้เวลาในการอบประมาณ 3 ชั่วโมง ซึ่งถ้าอุณหภูมิแรง และ ใช้เวลานานเกินไปจะส่งผลให้สีไม่สด และ อาจทำให้เครื่องเบญจรงค์ละลาย ในบางกลุ่มผู้ผลิต อาจมีเทคนิคพิเศษ ด้วยการลงสีพื้นก่อนการตัดเส้นหลัก และ ลงสีลาย ท

เครื่องขาว


เครื่องขาว หรือ ของขาว คือ วัสดุตั้งต้นที่นำมาเขียนลาย โดยจะเป็นภาชนะรูปทรงต่างๆ ที่มีสี ขาว ซึ่งลักษณะการเคลือบของขาวนั้นจะมี 2 ลักษณะ คือ เคลือบเงา และ เคลือบด้าน โดยของขาวจะสามารถซื้อได้จากโรงงานในอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร และ จังหวัดสระบุร

สีทอง


สีทอง เป็นสีที่นำเข้ามาจากประเทศเยอรมันโดยจะเป็นทอง 12% ที่ใช้ในการเขียนเส้นและลวดลายลงบนภาชนะต่าง ๆ

สีเคมีสำเร็จรูป


สีเคมีสำเร็จรูปหรือสีบนเคลือบ (Over glaze) ใช้สำหรับการเคลือบวัตถุให้เกิดความมันแวววาว และ มีความแข็งแรงมากขึ้น

แป้นหมุน


แป้นหมุน ใช้สำหรับหมุนภาชนะเพื่อวาดลวดลาย และ ลงสี

พู่กัน


พู่กัน จะมี 4-5 แบบ เช่น พู่กันเขียนลายเล็ก พู่กันเขียนลายใหญ่ และ พู่กันสำหรับลงสีทอง ซึ่งพู่กันเขียนลายจะนำเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่น และ จีน

วัสดุอื่น ๆ


วัสดุอื่น ๆ เช่น เถ้ากระดูก ทัลค์ เซอร์คอน สารประกอบอะลูมินา ใช้เป็นส่วนผสมเพื่อปั้นหรือเคลือบ เพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานของผลิตภัณฑ์

หินไฟโรฟิลไลท์


วัสดุที่ไม่มีความเหนียว นำมาใช้ผสมลงไปในเนื้อดินที่นำมาปั้นผลิตภัณฑ์ หรือใช้เป็นส่วนผสมของน้ำเคลือบ วัสดุในภาพ คือ หินไฟโรฟิลไลท์ที่มักนำไปผสมในเนื้อดินปั้นผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะทำให้เพิ่มความแข็งแรงแก่ตัวผลิตภัณฑ์ยิ่งขึ้น

หินเขี้ยวหนุมาน


หินเขี้ยวหนุมาน มักจะนำมาบดละเอียดหรือเผา เพื่อใช้ผสมในเนื้อดิน สำหรับการปั้นผลิตภัณฑ์ ซึ่งจะทำให้เนื้อดินลดการหดตัว ทนไฟสูง ทำให้ผลิตภัณฑ์โปร่งใส และ ใช้ผสมในน้ำเคลือบ ทำให้เคลือบเป็นมันและทนการกัดกร่อนได้ดี

หินฟันม้า


วัสดุที่ไม่มีความเหนียว ซึ่งจะนำมาใช้ผสมลงไปในเนื้อดินที่นำมาปั้นผลิตภัณฑ์ หรือใช้เป็นส่วนผสมของน้ำเคลือบ ซึ่งวัสดุในภาพ คือหินฟันม้า โดยเป็นวัสดุที่มักใช้ผสมในเนื้อดินเพื่อปั้นผลิตภัณฑ์ หรือใช้เป็นส่วนผสมในน้ำเคลือบ

ดินสีเทา


ดินสีเทา (Stoneware clay) เป็นดินที่มีความเหนียว เนื้อดินจะมีสีเทาอ่อน เทาแก่ หรือสีน้ำตาลเข้ม เมื่อนำไปทำผลิตภัณฑ์สามารถขึ้นรูปได้ดี โดยเฉพาะการขึ้นรูปโดยใช้แป้นหมุน สามารถทนความร้อนได้สูง ส่วนใหญ่ใช้ทำผลิตภัณฑ์ประเภทเคลือบที่ต้องใช้ไฟแรงสูง

ดินแดง


ดินแดง (Red clay หรือ Surface clay) เป็นดินที่มีความเหนียวมาก เนื้อดินจะมีสีเทาแก่ สีน้ำตาลแก่ และสีน้ำตาลอ่อน เมื่อนำไปทำผลิตภัณฑ์อาจต้องผสมทรายเพื่อป้องกันการแตกตัว มักนำไปทำกระเบื้อง โอ่ง ไห ครก หม้อดิน กระถางต้นไม้ เป็นต้น

ดินขาวเหนียว


ดินขาวเหนียว (Plastic clay) เกิดจากการผุกร่อนของหิน เนื้อดินจะมีความละเอียด และ มีความเหนียว โดยเนื้อดินจะเป็นสีเนื้อหรือสีเทา มักใช้ผสมกับดินชนิดอื่นเพื่อให้ขึ้นรูปทรงได้ง่าย

ดินเหนียว


ดินเหนียว (Ball clay) หรือดินดำ เป็นดินที่เกิดจากการชะล้างดินเกาลินโดยธรรมชาติ เนื้อดินจะมีความละเอียด มีสีคล้ำและเหนียว เหมาะแก่การทำเครื่องปั้นประเภทเนื้อดิน และเนื้อแกร่ง เพื่อใช้ทำเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทกระเบื้องเคลือบ

ดินเกาลิน


ดินเกาลิน (Kaolin) หรือดินขาว เกิดจากการแปรสภาพของหินแกรนิตเป็นหินฟันม้า มีความบริสุทธิ์สูง เนื้อดินหยาบ มีสีขาวหม่น มีความเหนียวน้อย ความหดตัวน้อย และทนความร้อนได้สูง

ประวัติความเป็นมา


คุณอุไร แตงเอี่ยม เป็นผู้ก่อตั้งบ้านอุไรเบญจรงค์ ในอดีตคุณอุไร และ คนในชุมชนประกอบอาชีพที่โรงงานเสถียรภาพทำเครื่องมือชามตราไก่โบราณมาก่อน หลังจากนั้นพ.ศ. 2535 โรงงานเสถียรภาพล้มละลาย ทำให้คุณอุไร และ สมาชิกภายในหมู่บ้านเบญจรงค์ตกงานจึงออกมาจัดตั้งเป็

เครื่องเบญจรงค์บ้านอุไร


รูปแบบเครื่องเบญจรงค์ของบ้านอุไรมีความหลากหลาย โดยส่วนมากจะสามารถใช้งานได้จริงในครัวเรือน เช่น ที่เขี่ยบุหรี่ แจกัน โถข้าว ซึ่งผู้ที่ซื้อไปสามารถนำไปใช้งานในชีวิตประจำวันได้ นอกจากนี้แล้วยังสามารถนำไปตั้งประดับภายในบ้านหรือนำไปมอบเป็นของขวัญได้เช่นกั

ลายเทพพนมนรสิงห์


เป็นลวดลายตามแบบฉบับของชาวจีน และ เป็นลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ในสมัยรัชกาลที่ 2

ลายเทพบันเทิง


เป็นลายที่ได้รับอิทธิพลมาจากจิตรกรรมภายในผนังโบสถ์ ที่มีเหล่าเทวดาอยู่บริเวณประตูหรือหน้าต่าง ปัจจุบันมีทั้งที่เป็นลวดลายเส้นดำ และ เส้นทอง

ลายจักรี


ลายจักรี คือลายดอกเดซี่ ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงมีพระราชดำริให้วาดลายดอกเดซี่ บนเครื่องเบญจรงค์ เพื่อมอบเป็นที่ระลึกแก่เชื้อพระวงศ์ จึงเรียกชื่อลายเครื่องเบญจรงค์ที่เขียนด้วยลายดอกเดซี่ว่า ลายจักรี

ลายพุ่มข้าวบิณฑ์


เป็นการเรียกชื่อตามลักษณะลายที่ความคล้ายคลึงกับพานพุ่มข้าวบิณฑ์ พานดอกไม้หรือพานแว่นฟ้า สามารถพบเห็นได้ตามสถาปัตยกรรมไทย เช่น เจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ในสมัยสุโขทัย โดยมีพุ่มข้าวบิณฑ์ที่ประดับตกแต่งบริเวณปลายยอดของบุษบก นอกจากนี้ยังมีการนำลายอื่น ๆ มาร่

ลายเส้นดำ


เป็นการวาดลายที่ใช้สีดำในการเดินเส้นและลงสี ซึ่งจะมีความโดดเด่นแตกต่างจากลายอื่นที่ใช้สีทองในการเดินเส้นแล้วลงสีแบบทั่วไป

ลายหยดน้ำ


ลายพิกุลใบพัด


ลายพิกุลกลม


ลายประยุกต์


ประวัติความเป็นมา


บ้านแดงเบญจรงค์ มีผู้ก่อตั้ง คือ คุณรัชนี ทองเพ็ญ หรือ คุณแดง ถือเป็นหนึ่งในผู้สืบทอดการผลิตเครื่องเบญจรงค์ในหมู่บ้านเบญจรงค์ดอนไก่ดี ในอดีตคุณรัชนี เป็นพนักงานร้านเครื่องเบญจรงค์มาก่อน หลังจากนั้นได้แยกตัวออกมาทำกิจการร้านเบญจรงค์ด้วยตนเอง จนธุรกิจค

เครื่องเบญจรงค์บ้านแดง


เอกลักษณ์ของบ้านแดงเบญจรงค์ คือ การออกแบบเครื่องเบญจรงค์สไตล์โมเดิร์นที่มีความทันสมัย ในรูปแบบข้าวของเครื่องใช้ที่เหมาะกับยุคในปัจจุบัน เช่น แก้วน้ำร้อน แก้วน้ำเย็น ถ้วยกาแฟแบบธรรมดา และ ถ้วยกาแฟแบบดริป อีกทั้งทางร้านยังคงความเป็นเครื่องเบญจรงค์รูปแบ

ลายไทยกนก


ลายไทยประเพณี


ลายจักรี


ลายเทพพนมนรสิงห์


ประวัติความเป็นมา


บ้านปานรดาเบญจรงค์ คือ หนึ่งในผู้สืบทอดการผลิตเครื่องเบญจรงค์ในหมู่บ้านเบญจรงค์ดอนไก่ดี โดยผู้ก่อตั้งปานรดาเบญจรงค์ คือ คุณปนัดดา ในอดีตคุณปนัดดาเป็นพนักงานโรงงานเสถียรภาพ โดยเริ่มต้นการเขียนลายลายคราม คือ ลายสีน้ำเงินพื้นขาว (Blue and White) หลังจาก

เครื่องเบญจรงค์บ้านปานรดา


ความเป็นเอกลักษณ์ของบ้านปานรดา คือ ผลงานที่ประยุกต์ให้เข้ากับยุคสมัย เช่น เครื่องประดับเบญจรงค์ ได้แก่ กำไล ต่างหู รวมไปถึงลำโพงเบญจรงค์ นอกจากนี้รูปแบบของเครื่องเบญจรงค์บ้านปานรดาส่วนใหญ่เน้นทำภาชนะที่ปลอดภัยไร้สารปรอท และ สารตะกั่ว ซึ่งภาชนะบางอย่

ลายพุ่มข้าวบิณฑ์เส้นทอง


ลายนกยูง


ลายนกยูงตามศาสตร์ของฮวงจุ้ย คือ เมื่อมีนกยูงอยู่ ณ สถานที่ใด สถานที่นั้นก็จะมีแต่ความสมบูรณ์ ลายนกยูงจึงถือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของบ้านปานรดา

ลายบัวสมัยใหม่


รางวัลหมู่บ้าน OVC (OTOP Village Champion)


รางวัลชุมชนดีเด่น โดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) ประจำปี 2550


รางวัลชนะเลิศ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ จังหวัด สมุทรสาคร ประจำปี 2546 ( OTOP ระดับ 5 ดาว)


รางวัลชนะเลิศจากสภาวัฒนธรรม อำเภอกระทุ่มแบน


ได้รับทั้งหมด 3 รางวัล

รางวัลผลิตภัณฑ์ชุมชนจากภูมิปัญญาไทย


ลายประเพณี


รางวัลเบญจรงค์น้ำทองคำล้านนานจากสมาคมชาวเหนือ


ได้รับทั้งหมด 3 รางวัล

รางวัลผลิตภัณฑ์ดีเด่น ประจำปี 2545


ลายพื้นสีทอง เส้นสีแบบโบราณ