เรือ ต.๒๑๓ พี.ซี.เอฟ (จำลอง)


เป็นชุดเรือ ต.๒๑๓- ต.๒๒๖ รวมจำนวน ๑๔ ลำ ต่อโดย บริษัท อิตัลไทยมารีน จำกัด ประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ.๒๕๒๓-๒๕๒๗ ตัวเรือทำด้วย อลูมิเนียมอัลลอยด์


เรือ ต.๙๙ (จำลอง)


อยู่ในชุดเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง สมัยรัชกาลที่ ๙ ประกอบด้วย เรือ ต.๙๑-เรือ ต.๙๙


เรือ ต.๙๑ (จำลอง)


อยู่ในชุดเรือตรวจการณ์ใกล้ฝั่ง สมัยรัชกาลที่ ๙ ประกอบด้วย เรือ ต.๙๑-เรือ ต.๙๙


ร.ล.กันตัง ลำที่ ๒ (จำลอง)


เรือรบหลวงหมายเลข ๕๒๔ ขึ้นระวางประจำการ ๒ ธ.ค. ๒๕๒๘ ผู้สร้าง บริษัท Italthai Marine ระบบตรวจการณ์ : เรดาร์ตรวจการณ์พื้นน้ำ Decca ระบบอาวุธ : ปืนใหญ่เรือ Bofors ขนาด ๗๖ มม. แท่นเดี่ยว ๑ แท่น , ปืนใหญ่กล Bofors ขนาด ๔๐ มม. แท่นเดี่ยว ๑ แท่น , ปืนใ


ร.ล.จักรีนฤเบศร(จำลอง)


เรือหลวงจักรีนฤเบศร (อังกฤษ: HTMS Chakri Naruebet; ย่อ: CVH-๙๑๑) เป็นเรือธงและเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกและลำเดียวของราชนาวีไทย ประจำการในส่วนกำลังรบของกองทัพเรือ เป็นเรือที่ต่อขึ้นจากประเทศสเปน โดยนำแบบมาจากเรือ ปรินซีเปเดอัสตูเรียส (Principe de Asturi


เรือครุฑเตร็จไตรจักร (จำลอง)


เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค ฝีพาย ๓๔ คน นายท้าย ๒ คน การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง


เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ (จำลอง)


เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์มีชื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาต้นรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราวปี พ.ศ. ๒๐๑๙ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า "สุวรรณหงส์" ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตามจดหมายเหตุเมื่อปี พ.ศ.


เรือพระที่นั่งอนันตนาคาราช (จำลอง)


เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ ลำเรือภายนอกทาสีเขียว ใช้ฝีพาย ๕๔ คน น


เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ (จำลอง)


เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เป็นเรือพระที่นั่งรอง ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ลักษณะเด่นคือมีโขนเรือเชิดเรียว ไม่ได้สร้างเป็นรูปสัตว์ในตำนาน แต่จำหลักและปิดทองเป็นรูปพญานาคจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า อเนกชาติภุชงค์ (อเนก หมายถึง จำนวนมาก, ชาติภุชงค์ หมายถึง


เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ (จำลอง)


เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์มีชื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาต้นรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราวปี พ.ศ. ๒๐๑๙ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า "สุวรรณหงส์" ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตามจดหมายเหตุเมื่อปี พ.ศ.


เรือพระที่นั่งนารายณ์ทรงสุบรรณ ร.๙ (จำลอง)


เป็นเรือพระที่นั่งกิ่งประเภทเรือรูปสัตว์ หนึ่งในเรือพระราชพิธี ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดสร้างขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในวโรกาส พระราชพิธีกาญจนาภิเษก แห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๙ โดย กองทัพเรือ ร่วมกับ กรมศิลปาก


เรือกรมวังหรือเรือตำรวจ ๓ (จำลอง)


เรือที่พระตำรวจหรือข้าราชการในพระราชสำนักลงประจำหน้าที่เป็นองครักษ์


เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ (จำลอง)


เรือพระที่นั่งอเนกชาติภุชงค์ เป็นเรือพระที่นั่งรอง ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ลักษณะเด่นคือมีโขนเรือเชิดเรียว ไม่ได้สร้างเป็นรูปสัตว์ในตำนาน แต่จำหลักและปิดทองเป็นรูปพญานาคจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า อเนกชาติภุชงค์ (อเนก หมายถึง จำนวนมาก, ชาติภุชงค์ หมายถึง


เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ (จำลอง)


เรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์มีชื่อกล่าวถึงเป็นครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยาต้นรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิราวปี พ.ศ. ๒๐๑๙ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเรียกว่า "สุวรรณหงส์" ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ตามจดหมายเหตุเมื่อปี พ.ศ.


เรือพระที่นั่งอนันตนาคราช (จำลอง)


เป็นเรือพระที่นั่งบัลลังก์ในกระบวนพยุหยาตราชลมารค สร้างขึ้นตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลำปัจจุบันมีการสร้างใหม่ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สำเร็จเมื่อวันที่ ๑๕ เมษายน พ.ศ. ๒๔๕๗ ลำเรือภายนอกทาสีเขียว ใช้ฝีพาย ๕๔ คน น


เรือเอกชัยเหินหาว (จำลอง)


เป็นเรือประเภทเรือเอกขัยในลำดับชั้นของเรือพระที่นั่งในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ซึ่งเกือบเทียบเท่าเรือพระที่นั่งกิ่ง ทำหน้าที่เป็นเรือคู่ชักใช้นำหน้าหรือชักลากเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ คู่กับเรือเอกไชยหลาวทองหรือสำหรับชักลากเรือพระที่นั่ง ในกรณีที่ฝีพายไม


เรือเอกชัยหลาวทอง (จำลอง)


เรือเอกไชยหลาวทอง เป็นเรือคู่ชัก คู่กับเรือเอกไชยเหินหาว สำหรับใช้ช่วยชักลากเรือพระที่นั่งสุพรรณหงส์ ในงานพระราชพิธี


เรือทองขวานฟ้า(จำลอง)


เป็นเรือประตูหน้า หนึ่งในสองของเรือคู่แรกในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ฝีพาย ๓๙ นาย นายท้าย ๒ นาย และนายเรือ ๑ นาย


เรือทองบ้าบิ่น (จำลอง)


เป็นเรือประตูหน้า หนึ่งในสองของเรือคู่แรกในกระบวนพยุหยาตราชลมารค ฝีพาย ๓๙ นาย นายท้าย ๒ นาย และนายเรือ ๑ นาย


เรืออสุรวายุภักษ์ (จำลอง)


เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค เรืออสุรวายุภักษ์ โขนเรือเป็นรูปครึ่งยักษ์ครึ่งนก มีส่วนบนเป็นยักษ์ ส่วนล่างเป็นนกองค์เป็นสีม่วง ลักษณะและขนาดของเรือใกล้เคียงกับเรืออสุรปักษี การแต่งกายของผู้ประ


เรืออสุรปักษี (จำลอง)



เรือครุฑเหินเห็จ (จำลอง)


หัวเรือเป็นรูปพญาครุฑยุดนาค จัดเป็นเรือกระบวน เขียนสีลงรักปิดทอง สร้างในรัชกาลที่ ๑ เรือทั้งสองลำนี้มีความยาวประมาณ ๒๗ เมตร กว้าง ๑.๙๐ เมตร ใช้ฝีพาย ๓๔ คน


เรือครุฑเตร็จไตรจักร (จำลอง)


เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค ฝีพาย ๓๔ คน นายท้าย ๒ คน การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง


เรือตำรวจนอกหรือเรือตำรวจ ๑ (จำลอง)


เรือที่พระตำรวจหรือข้าราชการในพระราชสำนักลงประจำหน้าที่เป็นองครักษ์


เรือตำรวจในหรือตำรวจ ๒ (จำลอง)


เรือที่พระตำรวจหรือข้าราชการในพระราชสำนักลงประจำหน้าที่เป็นองครักษ์


เรือกลองนอกหรือเรืออีเหลือง (จำลอง)


เรือสัญญาณ ที่ให้เรืออื่นหยุดพายหรือจ้ำโดยใช้กลอง ต่อมาใช้แตรฝรั่งที่มีเสียงดังไกลกว่าแทนแต่คงเรียกเรือกลองเช่นเดิม


เรือกลองใน (จำลอง)


เรือสัญญาณ ที่ให้เรืออื่นหยุดพายหรือจ้ำโดยใช้กลอง ต่อมาใช้แตรฝรั่งที่มีเสียงดังไกลกว่าแทนแต่คงเรียกเรือกลองเช่นเดิม


เรือกระบี่ราญรอนราพณ์ (จำลอง)


เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค โขนเรือเป็นรูปขุนกระบี่สีดำปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง มีฝีพาย ๓๖ คน นายท้าย ๒ คน


เรือกระบี่ปราบเมืองมาร (จำลอง)


เป็นเรือพระราชพิธี ชนิดหนึ่งหน้ามีลักษณะเหมือนรูปโขน ลำเดิมเป็นเรือพื้นดำ การแต่งกายของผู้ประจำเรือ นายลำนุ่งปูม สวมเสื้อเข้มขาบ โพกขลิบทอง ฝีพาย ๓๖ นาย นายท้าย ๒ นาย หัวเรือมีช่องสำ หรับติดตั้งปืนใหญ่ ๑ กระบอก ขนาด ๖๕ มม. เหนือช่องปืนและเป็นรูปขุน


เรือพาลีรั้งทวีป(จำลอง)


เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค จัดเป็นเรือกระบวนปิดทอง โขนเรือเป็นรูปพาลีปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง หัวเรือกว้างมี รูกลมโผล่ทางหัวเรือสำหรับติดตั้งปืนใหญ


เรือสุคีพครองเมือง(จำลอง)


เป็นเรือรูปสัตว์ในประเภทเรือเหล่าแสนยากร เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค โขนเรือเป็นรูปสุครีพปิดทองประดับกระจกภายในสีแดง ภายนอกทาสีดำ เขียนลวดลายดอกพุตตานสีทอง หัวเรือกว้างมี รูกลมโผล่ทางหัวเรือสำหรับติดตั้งปืนใหญ่บรรจุทางปากกระบอกได้


เรือเสือคำรณสินธุ์ (จำลอง)


เป็นเรือประตูหน้าในประเภทเรือพิฆาต เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค หัว เรือทำเป็นรูปหัวเสือ มีคฤห์สำหรับอำมาตย์ฝ่ายทหารนั่ง เป็นเรือรบที่อยู่ในริ้วที่ ๒ และริ้วที่ ๔ ถัดจากเรือประตูหน้าเข้ามาในกระบวน มีปืนจ่ารงตั้งที่หัว เรือ เรือพิฆาต


เรือเสือทยานชล(จำลอง)


เป็นเรือประตูหน้าในประเภทเรือพิฆาต เป็นหนึ่งในเรือพระราชพิธีกระบวนพยุหยาตราชลมารค หัว เรือทำเป็นรูปหัวเสือ มีคฤห์สำหรับอำมาตย์ฝ่ายทหารนั่ง เป็นเรือรบที่อยู่ในริ้วที่ ๒ และริ้วที่ ๔ ถัดจากเรือประตูหน้าเข้ามาในกระบวน มีปืนจ่ารงตั้งที่หัว เรือ เรือพิฆาต


เรือแซง ๗ (จำลอง)


เรือเล็กและเร็ว จัดเป็นเรืออารักขาพระมหากษัตริย์


เรือแซง ๖ (จำลอง)


เรือเล็กและเร็ว จัดเป็นเรืออารักขาพระมหากษัตริย์


เรือแซง ๕ (จำลอง)


เรือเล็กและเร็ว จัดเป็นเรืออารักขาพระมหากษัตริย์


เรือแซง ๓ (จำลอง)


เรือเล็กและเร็ว จัดเป็นเรืออารักขาพระมหากษัตริย์


เรือแซง ๒ (จำลอง)


เรือเล็กและเร็ว จัดเป็นเรืออารักขาพระมหากษัตริย์


เรือแซง ๑ (จำลอง)


เรือเล็กและเร็ว จัดเป็นเรืออารักขาพระมหากษัตริย์


เรือดั้งทอง ๒๒ (จำลอง)


เรือดั้งปิดทองที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า “ ดั้ง ” หมายถึง “ หน้า ” เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไป


เรือดั้งทอง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า “ ดั้ง ” หมายถึง “ หน้า ” เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็น เรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า “ ดั้ง ” หมายถึง “ หน้า ” เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็น เรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็นเรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็นเรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็นเรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็นเรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็นเรือปิดทองก็มี


เรือดั้ง ๗ (จำลอง)


เรือที่ทำหน้าที่ป้องกันกระบวนหน้า เพราะคำว่า ดั้ง หมายถึง หน้า เรือดั้งเป็นเรือที่มีส่วนหัวตั้งสูงงอนขึ้นไปเป็นเรือไม้ก็มี เป็นเรือปิดทองก็มี