เศียรเทวดาปูนปั้น


ศิลปะทวาราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง



ยอดเจดีย์ปูนปั้น


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง



ครุฑปูนปั้น


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง




เศียรยักษ์ปูนปั้น


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง



กระเบื้องและเครื่องประดับสถูป


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรือราว 1200-1300 ปีที่ผ่านมา พบที่บริเวณเมืองโบราณอู่ทอง

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง




ตุ้มหูสำริดและตะกั่ว


ตุ้มหูสำริดและตะกั่ว จัดแสดงอยู่ที่ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติอู่ทอง สุพรรณบุรี เป็นตุ้มหูสำริดและตะกั่วมีทั้งแบบที่มีลักษณะเป็นเส้นกลมคล้ายลวดขนาดใหญ่ขดเป็นวง แบบที่ขดเป็นวงแต่มีลักษณะแบน และในรูปทรงกระบอก มีการตกแต่งลวดลายเพื่อความสวยงาม เป


เครื่องประดับโบราณ ตุ้มหูแบบลิงลิงโอ


เครื่องประดับมีปุ่ม 3 ปุ่ม ทำจากหินหยก หรือ เนฟไฟรต์ (Nephrite) ซึ่งเป็นหินกึ่งรัตนชาติ ต่างหูแบบนี้เรียกกันว่า “ลิง-ลิง-โอ” ภาษาอังกฤษเขียน “Ling-Ling-O” ตุ้มหูลิง-ลิง-โอ เป็นเครื่องประดับของคนสมัยก่อนประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 20


พระพุทธรูปปางปฐมเทศนา


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หรือราว 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาแผ่นสลักหินนูนสูงภาพพระพุทธรูปประทับนั่งสมาธิ พระหัตถ์ทั้งสองข้างขวาทับซ้ายบนพระเพลา ด้านล่างตรงกึ่งกลางสลักเป็นภาพวงธรรมจักร มีรูปกวางหมอบด้านข้าง หมายถ


แผ่นกินเผารูปนรสิงห์


 แผ่นดินเผาทรงสี่เหลี่ยม มีเสาทรงกลมเป็นกรอบทั้งสองข้าง ตรงกลางมีรูปบุคคลมีศีรษะเป็นสิงห์ หรือ รูปนรสิงห์ มีแผงคอ ตาโปน จมูกใหญ่ แยกเขี้ยวยิงฟัน ส่วนลำตัวเป็นรูปบุคคลอยู่ในท่านั่งชันเข่าบนฐานสี่เหลี่ยม แยกขา มือทั้งสองข้างยกขึ


ประติมากรรมปูนปั้นรูปสิงห์


ประติมากรรมปูนปั้นรูปสิงห์ สภาพชำรุดเหลือเพียงส่วนใบหน้า มีตาโปน คิ้วหยักเป็นเส้นต่อกัน จมูกใหญ่ อ้าปากกว้าง แลบลิ้น มีร่องรอยของการปั้นแผงคอรอบใบหน้า ประติมากรรมชิ้นนี้น่าจะใช้สำหรับประดับส่วนฐานของศาสนสถาน เนื่องจากพบว่าส่วนฐานของโบราณส


ศิลาจารึกปุษยคีรี


จารึกปุษยคีรี : ชื่อภูเขาศักดิ์สิทธ์แห่งเมืองอู่ทองศิลาจารึกปุษยคีรี (หนังสือจารึกในประเทศไทย เล่มที่ ๑ เรียกว่า จารึกเขาปุมยะคีรี เลขทะเบียน รบ.๓) พบบริเวณเมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จารึก ๑ ด้าน ๑ บรรทัด ด้วยอักษรหลังปัล


ลูกปัดแก้ว


ลูกปัดอู่ทอง เป็นลูกปัดเก่าแก่ที่ถูกค้นพบในเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลราว 20-30 กิโลเมตร มีการสืบเนื่องต่อกันมาอย่างน้อย 3 ยุค คือ ยุคเหล็ก ฟูนัน และทวารวดี กินระยะเวลาประมาณ 1,500 - 2,000 ปี ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเมื่อประมาณ 2,500 ปี


ลูกปัดโบราณหินสควอตช์


ลูกปัดอู่ทอง เป็นลูกปัดเก่าแก่ที่ถูกค้นพบในเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลราว 20-30 กิโลเมตร มีการสืบเนื่องต่อกันมาอย่างน้อย 3 ยุค คือ ยุคเหล็ก ฟูนัน และทวารวดี กินระยะเวลาประมาณ 1,500 - 2,000 ปี ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเมื่อประมาณ


ลูกปัดโบราณหินคาร์เนเลียน


ลูกปัดอู่ทอง เป็นลูกปัดเก่าแก่ที่ถูกค้นพบในเมืองโบราณอู่ทองและปริมณฑลราว 20-30 กิโลเมตร มีการสืบเนื่องต่อกันมาอย่างน้อย 3 ยุค คือ ยุคเหล็ก ฟูนัน และทวารวดี กินระยะเวลาประมาณ 1,500 - 2,000 ปี ตั้งแต่ต้นพุทธกาลเมื่อประมาณ 2,500 ปีที่แล้ว

เอกมุขลึงค์พร้อมฐานโยนี


เอกมุขลึงค์บนฐานโยนี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 หรืออายุประมาณ 1,200-1,300 ปี พบที่เมืองโบราณอู่ทอง

รูปเคารพในศาสนาฮินดู แกะสลักจากหินทรายสีเขียว ด้านบนปรากฎพระพักต์ของพระศิวะ นับเป็นโบราณวัตถุชิ้นสำคัญที่สะท้อนให้เห็นว่า นอกเหนือจาก


แผ่นดินเผาภาพบุคคลฟ้อนรำ


แผ่นดินเผาประติมากรรมนูนต่ำ ทำเป็นรูปบุคคล (บุรุษ) ยืนเอียงสะโพก ขาซ้ายเหยียดตรง ขาขวางอ ปลายเท้าแยกออกทางด้านข้าง แขนขวายกงอขึ้นจีบเป็นวงชิดใบหู และแขนซ้ายเหยียดโค้งพาดกลางลำตัวมือจีบเป็นวงชี้ลงเบื้องล่าง ซึ่งท่าทางดังก


แผ่นดินเผารูปบุคคลสวมสร้อยคอและตุ้มหู


ประติมากรรมดินเผารูปสตรี ประดับศาสนสถานสมัยทวารวดี สูงประมาณ ๒๖ เซนติเมตรศิลปะทวารวดี ราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ – ๑๔ (ประมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปีมาแล้ว พบที่เมืองโบราณอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีปัจจุบันจัดแสดง ณ ห้องอู่ทองศรีทวารวดี พิพิธภัณฑสถาน


ศีรษะบุคคลต่างชาติ


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 13 หรือราว 1,300 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะศรีษะบุคคลต่างชาติทำด้วยปูน หันด้านข้างสวมหมวกทรงกรวยแหลม ลักษณะคล้ายหมวกของชาวอาหรับ สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นรูปของพ่อค้าที่เดินทางมาค้าขายระหว่างตะวันออกกลางกับดิ


ตุ๊กตาดินเผารูปคนจูงลิง


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 - 14 หรือราว 1,200 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะตุ๊กตาดินเผารูปคนยืนตรง ด้านหน้ามีลิง 1 ตัว นั่งเกาะขา มือซ้ายของบุคคลดังกล่าวถือกิ่งไม้แนบกับต้นขา ส่วนมือขวาถือปลายเชือกผูกล่ามคอลิงเอาไว้ สวมเครื่องประดับที่ค


พระพิมพ์ดินเผาปางสมาธิ


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 - 14 หรือราว 1,200 – 1,300 ปีมาแล้ว ลักษณะพระพิมพ์ดินเผาปางสมาธิเป็นแผ่นพระพิมพ์ปางสมาธิ ประทับนั่งขับสมาธิราบ พระหัตถ์ทั้งคู่วางซ้อนขวาทับซ้ายบนพระเพลา ครองจีวรห่มเฉียง ปรากฎชายผ้าด้านหน้าพระเพลา พระพุ


ธรรมจักรยุคแรกที่สมบูรณ์ที่สุดในเมืองไทย


 

 

 

ธรรมจักรมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 91 เซนติเมตร สูง 130 เซนติเมตร ขนาดกว้าง 48 เซนติเมตร ความยาว 50 เซนติเมตร สูง 38 เซนติเมตร เสามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 25 เซนติเมตร สูง 280 เซนติเมตร เป็นศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่


จารึกแผ่นทองแดง


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 13 – 14 หรือราว 1,200 – 1,300 ปีมาแล้ว ลักษณะจารึกแผ่นทองแดงเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มีอักษรจารึกหกบรรทัดเป็นอักษรปัลลวะ

ที่จัดแสดง : พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอู่ทอง



ตราประทับดินเผา


ตราดินเผารูปสัญลักษณ์ทางศาสนาประกอบอักษรโบราณ พบที่เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ตราดินเผา คือ โบราณวัตถุที่มีรูปรอยนูนขึ้นจากพื้นผิวในลักษณะนูนต่ำ เป็นรอยถูกประทั


เศียรพระพุทธรุปทองคำ


พบจากการขุดแต่งเจดีย์หมายเลข ๒ เมืองโบราณอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีจัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทองพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทองพระเศียรพระพุทธรูป สูงประมาณ ๕ เซนติเมตร พระพักตร์ค่อนข้างกลม พระขนงต่อกันเป็นปีกกา พระเนตรปิด พระกรรณยาว


เครื่องประดับทองคำลูกปัด


ศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 หรือราว 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะเครื่องประดับทองคำลูกปัดเป็นทองคำขนาดเล็กรูปทรงกลมพร้อมจี้ทองคำฝังพลอย ตัวจี้เป็นรูปวงกลมมีรัศมีโดยรอบขอบทำเป็นเม็ดลายไข่ปลา ตรงกลางมีพลอยสีขาวประดับ ลูกปัดที่พบมีทั้งทำจากหิ


ประติมากรรมสำริดรุูปสิงห์


ศิลปะทวารวดีกำหนดอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๓ - ๑๔ (ประมาณ ๑,๒๐๐ – ๑,๓๐๐ ปีมาแล้ว) ปัจจุบันจัดแสดง ณ ห้องบรรพชนคนอู่ทอง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง ประติมากรรมสำริดรูปสิงห์ ชิ้นนี้ พบจากเจดีย์หมายเลข ๑๓ เมืองโบราณอู่ทอง เป็นประติมากรรมขนาดเล็


พระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ


ประติมากรรมสำริดรูปพระโพธิสัตว์ปัทมปาณิ หรือพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรสูงประมาณ ๒๓.๕ เซนติเมตร เกล้าพระเกศาทรงสูงทรงชฎามงกุฎ มีพระพุทธรูปนั่งปางสมาธิ ซึ่งหมายถึง พระธยานิพุทธเจ้าอมิตาภะ ประทับอยู่ที่ด้านหน้ามวยผม พระหัตถ์ขวาทรงถืออักษมาลา (ล


แผ่นดินเผาภาพกินรี


เป็นศิลปะทวารวดีประมาณพุทธศตวรรษที่ 10 – 12 หรือราว 1,400 – 1,600 ปีมาแล้ว ลักษณะแผ่นดินเผาภาพกินรีสวมเครื่องประดับศรีษะอยู่ในท่าเคลื่อนไหว ยกมือขวาและขาซ้ายขึ้นไปด้านหลัง เนื่องจากแผ่นภาพชิ้นนี้ค่อนข้างลบเลือนและบางส่วนแตกชำรุดไป จึงไม่ส


ปูนปั้นพระพุทธรูปปางเสด็จลงจากดาวดึงส์


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 14 หรือราว 1,200 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะปูนปั้นพระพุทธรูปยืนยกพระหัตถ์ทั้งสองข้างขึ้นในท่าแสดงธรรม โดยพระอังคุตนิ้วหิวแม่มือและนิ้วชี้จรดกันเป็นวงกลมปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ ซึ่งหมายถึงเหตุกา


แผ่นดินเผารูปเทวดาเหาะ


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 13 หรือราว1,300 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะแผ่นดินเผารูปเทวดาเหาะเป็นแผ่นดินเผาทำเป็นภาพนูนต่ำรูปบุคคลเอียงตัวทำท่าเหาะ ยกแขนและขาข้างขวาไปด้านหลัง ขาซ้ายยื่นไปทางด้านหน้า สวมเครื่องประดับศรีษะที่แสดงถึงค


ชิ้นส่วนปูนปั้นภาพพระพุทธรูปนาคปรก


ชิ้นส่วนปูนปั้นศิลปะอินเดียแบบอมราวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 – 10 หรือราว 1,600 – 1,700 ปี ลักษณะชิ้นส่วนปูนปั้นภาพพระพุทธรูปนาคปรกชำรุดเหลือเฉพาะส่วนฐาน เป็นภาพพระพุทธเจ้าประทับขัดสมาธิไขว้พระบาทหลวมๆ แสดงถึงศิลปะอมราวดีของอินเดีย พระหัตถ


แผ่นดินเผาภาพพระภิกษุอุ้มบาตร


ศิลปะทวารวดี ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 – 13 หรือราว1,300 – 1,400 ปีมาแล้ว ลักษณะแผ่นดินเผารูปเทวดาเหาะเป็นแผ่นดินเผาทำเป็นภาพนูนต่ำรูปบุคคลเอียงตัวทำท่าเหาะ ยกแขนและขาข้างขวาไปด้านหลัง ขาซ้ายยื่นไปทางด้านหน้า สวมเครื่องประดับศรีษะที