สมอตีนนก


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Vitex pinnata L.

วงศ์ (Family) : LAMIACEAE (LABIATAE)

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นมีความสูง 10 – 20 เมตร ใบประกอบแบบนิ้วมือ ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปหอก ช่อดอกแบบช่อแยกแ


ชิงชี่



ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Capparis Micracantha DC.

วงศ์ (Family) : CAPPARACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : พญาจอมปลวก,กระดาดขาว,กระโรกใหญ่,จิงโจ้,แสมซอ,ค้อนฆ้อง,ราม,แส้ม้าทลา


มะกา


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Bridelia Ovata Decne

วงศ์ (Family) : PHYLLANTHACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : อง,ก้องแกบ,ซำซา,มัดกา,ส่าเหล้า,สิวาลา และส่าเหล้าต้น

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :


พุดผาหรือจันทน์ขาว


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Gardenia Collinsiae Craib

วงศ์ (Family) : RUBIACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : ข่อยด่าน,ข่อยหิน,พุด และพุดผา

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้


ปูเล


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Gyrocarpus Americanus Jacq.

วงศ์ (Family) : HERNANDIACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : ปูเล,ส้าว

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นมีความสูง 10 -25 เมตร


กระเจียวป่า


ชื่อวิทยาศาสตร์: Curcuma sessilis Gage

ชื่อเรียกในท้องถิ่น : ว่านมหาเมฆ (สกลนคร), อาวแดง (ภาคเหนือ), กาเตียว (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), กระเจียว กระเจียวแดง (ภาคกลาง), จวด (ภาคใต้, ชุมพร, สงขลา), กระเจียวสี, กระเจียวป่า

<


เฟิร์นตีนตุุ๊กแก


ชื่อวิทยาศาสตร์: Selaginella wallichii (Hook. & Grev.) Spring

ชื่อสามัญ: Spike Moss

วงศ์: SELAGINELLACEAE

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ต้น พืชจำพวกเฟิน เหง้าเล็กตั้งตรง แตกแขนงเป็นกิ่งย่อย ๆ มีไหลท


สุพรรณิการ์


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Cochlospermum Regium (Schrank) Pilg

วงศ์ (Family) : BIXACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : ฝ้ายคำ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :


มะเกลือ


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Diospyros Mollis Griff

วงศ์ (Family) : EBENACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : เกลือ,มักเกลือ,หมักเกลือ,ผีเผา,ผีผา และมะเกีย

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไ


ช้างผสมโขลง


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Dracaena Cochinchinensis (Lour.) S. C. Chen

วงศ์ (Family) : ASPARAGACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : จันทน์ผา,จันทร์แดงและลักกะจันทร์

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์


ปรงป่า


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Cycas Nongnoochiae K. D. Hill

วงศ์ (Family) : CYCADACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : ปรงตากฟ้า

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : คล้ายไม้ต้นสูง 5 เมตร ต้นตั้งตรงบางครั้ง


สลัดได


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Euphorbia Antiquorum L.

วงศ์ (Family) : EUPHORBIACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : สลัดได,กะลำพัก,เคียะผา,เคียะเหลี่ยม และหนอนงู

ลัก


จันทน์ผา


ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) : Dracaena Cochinchinensis (Lour.) S. C. Chen

วงศ์ (Family) : ASPARAGACEAE

ชื่อพื้นเมือง (Vernacular name) : จันทน์ผา,จันทร์แดงและลักกะจันทร์

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์


รากโพธิ์พันธ์ุปี


ชื่อวิทยาศาสตร์: Ficus religiosa L.

ชื่อสามัญ: Sacred Fig Tree, Pipal Tree, Bohhi Tree, Bo Tree, Peepul

ชื่ออื่น: โพ โพศรีมหาโพ (ภาคกลาง), สสี (ภาคเหนือ), ย่อง (ฉาน-แม่ฮ่องสอน)

วงศ์: MORACEAE

ลักษณะทางพฤกษศาสต


หินตั้ง


หินตั้งที่นักวิชาการโบราณคดีและประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่ามนุษย์ยุคโบราณนำหินมาวางซ้อนกันไว้ เพื่อเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ เมื่อกว่า 2,000 ปีที่ผ่านมา

หินตั้ง ที่ป่าหินตั้ง บนยอดเขาพุหางนาค เมืองอู่ทอง


ชั้นหินคดโค้ง


หินในพื้นที่สวนหินพุหางนาคมีลักษณะคดโค้ง แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของเปลือโลกที่ทำให้เกิดแรงดันหิน อยู่ภายใต้ความเค้นอัด และอยู่ในสภาพอ่อนนิ่ม หินจึงเกิดการคดโค้ง เป็นคลื่น การผุพังและการกัดกร่อนโดยกระบวนการทางธรรมชาติทำให้หินเนื้อดินท


หินรูปปลาวาฬ


หินที่เชื่อกันว่า มีการจับนำมาเรียงซ้อนกัน ตามความเชื่อของคนในยุคโบราณ เพื่อเป็นศาสนสถานประกอบพิธีกรรม หินบางก้อน คนในสมัยปัจจุบันตั้งชื่อให้ว่า ปลาวาฬแม่ลูกอ่อน






หินปลาตะเพียน


หินปูนที่กัดกร่อนมีลักษณะคล้ายรูปปลาตะเพียน เป็นเกิดจาการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก การเคลื่อนตัวเข้าชนกันของแผ่นดิน ทำให้เกิดการยกตัวของชั้นหินใต้ทะเล ที่มีการเปลี่ยนแปลงทับซ้อนกัน เมื่อถูกดัน บีบ อัด จึงเกิ


หินหัวเต่า


หินปูนที่มีลักษณะเหมือนหัวของเต่า ชื่อเรียกที่ถูกตั้งขึ้นโดยชาวบ้านในชุมชน ลักษณะปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยา ที่น้ำที่มีแร่ธาตุ ไหลผ่านก้อนหินเป็นระยะเวลานานหลายร้อยปี เกิดการแข็งตัวตกตะกรัน หินลักษณะนี้เกิดจากกระบ


หินแม่ช้างและลูกช้าง


หินย้อย มีลักษณะรูปร่างคล้ายแม่ช้างและลูกช้าง

เกิดจากที่น้ำที่มีแร่ธาตุ ไหลผ่านก้อนหินเป็นระยะเวลานานหลายร้อยปี เกิดการแข็งตัวตกตะกรัน หินลักษณะนี้เกิดจากกระบวนกัดเซาะ อิทธิพลของน้ำฝน ลมพายุ และการแปรสภาพเป็นสนิมหิ


หินรูปหัวใจ หรือ หน้าผาแห่งความรัก


หินย้อย มีลักษณะคล้ายรูปหัวใจ เรียกบริเวณนี้ว่าหน้าผาแห่งความรัก เกิดจากการที่น้ำที่มีแร่ธาตุ ไหลผ่านก้อนหินเป็นระยะเวลานานหลายร้อยปี เกิดการแข็งตัวตกตะกรัน หินลักษณะนี้เกิดจากกระบวนกัดเซาะ อิทธิพลของน้ำฝน ลมพาย


หินจระเข้มุดถ้ำ


หินซ้อนที่มีลักษณะเหมือนจระเข้ เป็นลักษณะหินที่ซ้อนกัน เกิดขึนโดยกระบวนการทางธรรมชาติ การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ส่งผลให้เกิดรอบแตกตามแนวระนาบการสะสมตัวของตะกอน






หินหัวงู


หินปูนที่มีลักษณะเหมือนหัวของงู เกิดจาการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก การเคลื่อนตัวเข้าชนกันของแผ่นดิน ทำให้เกิดการยกตัวของชั้นหินใต้ทะเล ที่มีการเปลี่ยนแปลงทับซ้อนกัน เมื่อถูกดัน บีบ อัด จึงเกิดรูปทรง

 



หินปลาเทศบาลหรือ หินเหาฉลาม


เป็นลักษณะหินที่เกิดจากการละลายของหินปูน โดยน้ำฝนที่มีสภาพเป็นกรดอ่อนๆ ไหลลงมาสะสม และแข็งตัวอย่างช้าๆ เกิดการพอกทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้นกลายเป็นรูปร่างลักษณะคล้ายปลาเทศบาลหรือเหาฉลาม