สถานีรถไฟ


ครูภูมิปัญญา : นายจิตติ อนันสลุง

การทอผ้า


ความเป็นมา วิถีชีวิตของชาวไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง จากอดีตถึงปัจจุบัน เป็นวิถีเรียบง่ายแบบชนบท มีขนบธรรมเนียมประเพณี ภูมิปัญญาที่สั่งสมมายาวนานและสืบทอดจนถึงลูกหลาน แทบทุกครัวเรือนจะมีการทอผ้าด้วยกี่โบราณเรียกว่า “ทอหูก”ไว้ใต้ถุนบ้าน เพื่อไว้ใช้เอง เช่

การทอเสื่อกก


ความเป็นมา ในอดีตชาวไทยเบิ้งบ้านโคกสลุงมีความเป็นอยู่ที่ใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ จึงได้มีการคิดค้นเครื่องใช้ต่างๆขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นเครื่องจักสาน ทอผ้า ทอเสื่อ ซึ่งล้วนเป็นงานศิลปหัตกรรมที่เป็นภูมิปัญญาสืบสานกันมา เสื่อกก เป็นเครื่องใช้ในครัวเรือนไ

ขนมเบื้องไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง


ความเป็นมา ขนมเบื้องเป็นขนมที่ชาวไทยเบิ้งบ้านโคกสลุง นิยมทำกินกันในครัวเรือน เป็นขนมที่ทำง่าย ในช่วงเวลายามว่าง หลังเหน็ดเหนื่อยจากการทำงาน ทั้งลูกๆ พ่อ แม่ พ่อใหญ่ แม่ใหญ่ ปู่ ย่าต่างก็เอร็ดอร่อยกับขนมเบื้อง ซึ่งกลายเป็นขนมประจำบ้านในทุกครัวเรือน

ของเล่นจากใบลาน


ความเป็นมา เป็นภูมิปัญญาทางศิลปกรรมการประดิษฐ์ของเล่นของชุมชน แต่ก่อนชุมชนไทยเบิ้งโคกสลุงเป็นชุมชนที่อยู่กลางป่าเขาล้อมรอบ การเดินทางไปยังตัวอำเภอ จังหวัด ต้องเดินเท้า ใช้เวลา จึงพึ่งตัวเอง มีทักษะการใช้ชีวิตในป่า การทำของเล่นให้ลูกหลานจึงใช้ของที

พริกตะเกลือ


“พริกตะเกลือ” (พริกกับเกลือ) เครื่องจิ้มอเนกประสง์ของชาวไทยเบิ้ง บ้านโคกสลุง ประกอบไปด้วย พริกป่น กระเทียม ใบมะกรูด เกลือเม็ด และลูกกำจัด (สมุนไพรประจำถิ่นผลกลมขนาดใหญ่กว่าพริกไทยเล็กน้อย รสซ่า กลิ่นฉุนคล้ายมะกรูด) โขลกผสมให้เข้ากันพอดีสามารถนำไปรับป

พวงมะโหตร


ความเป็นมา งานตัดกระดาษเป็นผลงานศิลปกรรมพื้นบ้านอย่างหนึ่งที่ใช้ในงานเทศกาล เช่น กฐิน ผ้าป่า เทศน์มหาชาติ และงานบุญประเพณีต่างๆ เช่นงานบวช งานแต่ง เป็นเครื่องหมายแห่งความดี เป็นสัญลักษณ์ของความร่วมแรงร่วมใจ สมัยก่อนพระจะเป็นผู้สอนทำพวงมะโหตร ตกแต่งใน