TAO


ชื่อผลิตภัณฑ์ TAO T : Thailand ให้คุณค่าถึงวัตถุดิบที่ได้นำมาจากชุมชนในประเทศไทย A : Awareness การสร้างความตระหนักถึงวัฒนธรรมของ เทา สาหร่ายน้ำจืด เพื่อไม่ให้วัฒนธรรมการกินนี้สูญหายไป O : Opportunities สร้างโอกาสและรายได้ให้กับชุมชนบ้านข

วิธีการทำลาบเทา


ส่วนผสมเครื่องปรุง"ลาบเทา" เทา 1 ถ้วย มะเขือพวง 1 ถ้วย มะเขือเปราะ 2-3 ลูก ข่าอ่อน 1 แง่ง ถั่วฝักยาว 2-3 ฝัก หอยขมต้ม 1 ถ้วย กุ้งฝอย 1 ถ้วย แจ่วปลา 1 ถ้วย ข้าวคั่ว 1 ช้อนโต๊ะ พริกป่น 1 ช้อนโต๊ะ หัวหอมแดงซอย 3-4 หัว ต้นหอมผักชี 5-6 ต้น

อัตลักษณ์ที่โดดเด่น


เทาเป็นอาหารพื้นเมือง หารับประทานได้ง่าย มีคุณค่าทางอาหารมาก วิธีการปรุงไม่สลับซับซ้อน จึงเป็นที่ชื่นชอบของคนทุกเพศทุกวัย มีความสำคัญและคุณค่าทางสังคมและทางจิตใจที่มีในวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชนนั้นๆ เนื่องจากเทาเป็นอาหารพื้นเม

ความเป็นมาของเทา


ลาบเทาเป็นอาหารพื้นเมือง เทา คือ สาหร่ายน้ำจืด เป็นสิ่งมีชีวิตคู่กับโลกมานานมาก ในสมัย พุทธกาล เรียกเทาว่า "กระบิดิน” เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญมากของมนุษย์ชาติ เป็นแหล่งอาหารคุณภาพสูง นำมาบริโภคกันในหลายรูปแบบ เทาเป็นสาหร่ายที่ชอบขึ้นในน้ำจืดทั้งน

เทา กับวัฒนธรรมการกินของคนอีสาน


ชาวอีสานกลุ่มวัฒนธรรมไทย-ลาว และไทยเบิ้งหรือไทยโคราช จะนำเทามาปรุงอาหารรับประทานกันทั่วไป ซึ่งเทานั้นหาได้ง่ายตามคลองและท้องนา การเก็บเทามารับประทานมักเก็บในแหล่งน้ำสะอาด ยิ่งเป็นทางน้ำไหลยิ่งดี เทาที่เหมาะสำหรับการนำมาปรุงอาหารคือ เทาที่ยังอ่อนอยู่ซ

ประโยชน์ของเทา


ด้านเกษตรกรรม : ใช้เป็นปุ๋ยไนโตรเจน ช่วยตรึงไนโตรเจนในอากาศให้เป็นสารประกอบไนโตรเจน ด้านอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง : ช่วยในการรักษาโรคผิวหนังบางชนิด โดยมีการศึกษาวิจัยในประเทศญี่ปุ่น พบว่า เครื่องสำอางที่ผสมสาหร่ายและสารสกัดจากสาหร่ายช่วยให้ผิวพรรณดีข

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับเทา


ไก หรือ เทา จัดเป็นสาหร่ายน้ำจืด และจัดอยู่ในกลุ่มสาหร่ายสีเขียวชนิดหนึ่งที่นิยมนำมารับประทานในปัจจุบัน และยังนิยมแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ขนมของหวานมากมาย สาหร่ายไก มีชื่อวิทยาศาสตร์ : Cladophora spp. หรือ Microspora spp. โดยมักมีชื่อเรียกแตกต่างกันในแต่

วิถีชีวิตของคนอุบลราชธานี


วิถีชีวิตของผู้คนอุบลราชธานี มักมีวิถีชีวิตแบบชาวบ้านสังคมเกษตรกรรม มีการตั้งถิ่นฐาน ใกล้กับลุ่มแม่น้ํา ประกอบอาชีพทํานาและหาอาหารตามธรรมชาติ เนื่องด้วยวิถีชีวิตของคนอุบลราชธานีที่มีการใช้ชีวิตแบบสังคมเกษตรกรรม และหาอาหารตามธรรมชาติ ทําให้มีความนิย

คุณค่าทางอาหารของเทา


เทา มีแคลเซี่ยมและเบต้า-แคโรทีนสูงมาก คุณค่าทางโภชนาการของเทา โดยคิดเป็นเปอร์เซ็นของน้ำหนักแห้งประกอบด้วย โปรตีน 18.63-23.76% ไขมัน 2.86-5.21% คาร์โบไฮเดรต 53.98-56.31% เส้นใย 6.24-7.66% เถ้า 11.78%